[x] ปิดหน้าต่างนี้
 
 
บทที่ ๑
บทนำ
 
ความเป็นมา
     การจัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันมีความสำคัญมาก เพราะจะเป็นการพัฒนาประชากรของประเทศให้ มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความเข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดยุทธศาสตร์ ๒๕๕๕ ภายใต้กรอบเวลา ๒ ปี ที่จะพัฒนา๕ ศักยภาพของพื้นที่ใน ๕ กลุ่มอาชีพใหม่ ให้สามารถแข่งขันได้ใน๕ ภูมิภาคหลักของโลก“รู้เขา รู้เรา เท่าทัน เพื่อแข่งขันได้ในเวทีโลก” และได้กำหนดภารกิจจะพัฒนายกระดับการจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความ สามารถให้ประชาชนได้มีอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ ที่มั่นคง โดยสำนักงาน กศน.ได้กำหนดหลักการในการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำไว้ว่า ต้องเป็นการดำเนินงานที่มีความยืดหยุ่นด้านหลักสูตร การจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล ใน ๕ กลุ่มอาชีพ ได้แก่ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม เศรษฐกิจสร้างสรรค์ รวมถึงกลุ่มจัดการและการบริการ โดยเน้นการบูรณาการให้สอดคล้องกับศักยภาพด้านต่างๆ โดยมุ่งพัฒนาคนไทยให้ได้รับการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและการมีงานทำอย่างมีคุณภาพ ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน สามารถสร้างรายได้ที่มั่นคง
               ดังนั้น กศน.ตำบลคลองพน ได้เล็งเห็นความสำคัญจึงจัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนตำบลคลองพน โดยเน้นสร้างองค์ความรู้ ทักษะด้านอาชีพเพื่อเพิ่มศักยภาพในการพัฒนาอาชีพของตนเองและชุมชนซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพและการดำเนินชีวิตประจำวันได้  
 
 วัตถุประสงค์
     1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ และทักษะในการเรียนรู้ตามหลักสูตร
     2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถปฏิบัติอาชีพที่เรียนรู้ได้จริง
ขอบเขตการประเมิน
ประชากร  ประชาชนผู้สนใจตำบลคลองพน จำนวน   16 คน
     กลุ่มตัวอย่าง ประชาชนผู้สนใจตำบลคลองพน จำนวน 16   คน
 
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
๑.      ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ มีทักษะในการถักกระเป๋าเชือกร่ม และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการประกอบอาชีพได้ 
 
 
 
 
 
บทที่ ๒
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
. แนวคิด/ทฤษฏี/นโยบายที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรม/โครงการที่จัด
.๑ แนวคิดในการสร้างอาชีพ
จากสถานการณ์ด้านเศรษฐกิจในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา  ค่าครองชีพสูงขึ้น ประชาชนมีรายได้ไม่คงที่  ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อผู้มีรายได้น้อยที่จะต้องแบกรับกับค่าครองชีพที่สูงขึ้นเรื่อย ๆ ทำให้รายรับไม่เพียงพอกับรายจ่าย  เพื่อเป็นการแบ่งเบาและช่วยลดปัญหาสภาวะเงินเฟ้อในสังคมชุมชน  ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จึงได้ตระหนักถึงความจำเป็นในการส่งเสริมให้ประชาชนผู้มีรายได้น้อย   ได้มีโอกาสฝึกทักษะอาชีพเพื่อสร้างอาชีพเสริมให้มีรายได้กับตนเองและครอบครัว  ดังนั้นจึงได้จัดทำโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนตำบลคลองพน  แก่ผู้ที่สนใจทั่วไปได้เรียนรู้และฝึกอาชีพ วิชาต่างๆ โดยโครงการนี้จัดขึ้นในรูปแบบหลากหลายอาชีพ  ซึ่งให้ผู้ที่สนใจได้เลือกเรียนตามความต้องการและความสามารถ  เพื่อให้เกิดทักษะและพร้อมที่จะนำไปประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้อย่างยั่งยืน
ประกอบกับในสภาพปัจจุบันมนุษย์เราได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ เช่น ด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมากเป็นอย่างมาก เมื่อจานวนประชากรเพิ่มขึ้นแต่ทรัพยากรธรรมชาติถูกใช้ไปอย่างรวดเร็ว และไม่เพียงพอต่อความต้องการ จึงจำเป็นอย่างยิ่ง ที่มนุษย์จะต้องสร้างขึ้นหรือทดแทนโดยวิธีการต่างๆเพื่อการอยู่รอดศูนย์การศึกษานอกระบบลากรศึกษาตามอัธยาศัยจึงได้นำนโยบาย ยุทธศาสตร์ และความจาเป็น ดังกล่าวสู่การปฏิบัติ เพื่อการพัฒนาหลักสูตรอาชีพให้กับกลุ่มเป้าหมาย และประชาชนมีรายได้ และมีอาชีพเสริมการสานเส้นพลาสติกเป็นภาชนะใช้สอย มีสีสันสวยงาม คงทน มีความน่าสนใจ เหมาะสำหรับนำมาใช้สอยและเป็นของฝาก ผู้ที่สนใจควรศึกษาหาความรู้และฝึกปฏิบัติจนเกิดความชำนาญ สามารถนำไปประกอบอาชีพให้กับตนเองได้
 
.๒. ทฤษฎีทางอาชีพ
งาน (Work) มีความหมายใน 3 ลักษณะ คือ
.๒.๑ หน้าที่ที่บุคคลจะต้องทำเป็นประจำ (Routine) ตัวอย่าง อาชีพครูมีเนื้อหาของงานคือความรู้ในวิชาที่ต้องสอน ที่เกี่ยวข้องกับคน และมีหน้าที่หลายอย่าง เช่น สอนหนังสือ ดูแลความประพฤติของศิษย์ สร้างสื่อ จัดหาสื่อ เขียนตำรา วิจัย หรืออาชีพนักบัญชี มีเนื้อหาของงานคือความรู้ที่เกี่ยวกับบัญชี การคำนวณ ที่เกี่ยวกับตัวเลข มีหน้าที่หลายอย่าง คือ ลงบัญชีรับจ่าย งบดุลตรวจสอบ ควบคุมการเงิน การพัสดุ ศึกษาวิจัย
          ๑.๒.๒ เงื่อนไขจำเป็นในการทำงาน (Requisite) ได้แก่ความสามารถ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
ตลาด และความต้องการของสังคม
.๒.๓. ผลตอบแทน (Return of work) ได้แก่ รายได้ เกียรติยศ อำนาจ สัมพันธภาพกับผู้อื่น
การทำประโยชน์ให้สังคม และความภาคภูมิใจ
กลุ่มอาชีพ (Occupation) หมายถึง กลุ่มของงานที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน ในสิ่งแวดล้อมต่างๆ กัน เช่น กลุ่มอาชีพบริการ กลุ่มอาชีพเกษตรกร เป็นต้น
การงาน (Job) ความหมายที่เกี่ยวข้องกับงานหรือลักษณะของงานที่ใกล้เคียงกัน ในหน่วยงาน องค์การหรือสถาบัน เช่น นายแพทย์ทำหน้าที่รักษาคนป่วยทางกาย จิตแพทย์ทำหน้าที่รักษาคนป่วยทางจิตใจ
ตำแหน่ง (Position) หมายถึง กิจกรรมที่รวมเป็นงานให้บุคคลหนึ่งคนทำ เช่น ตำแหน่งนายแพทย์ จิตแพทย์ กุมารแพทย์ ศัลยแพทย์
อาชีพ (Career) หมายถึง งานต่างๆ ที่บุคคลทำ รวมทั้งตำแหน่งต่างๆ ที่เคยทำเป็นประจำในช่วงชีวิตการทำงาน เมื่อพูดถึงอาชีพ เราจึงหมายความถึง วิถีชีวิตทางอาชีพของบุคคล รวมทั้งแบบแผนการใช้ชีวิตทางอาชีพที่มีการเปลี่ยนแปลง พัฒนาตลอดเวลา ในช่วงชีวิตของคนคนหนึ่งอาจจะประกอบอาชีพนั้นอาชีพเดียว หรือหลายอาชีพซึ่งแต่ละอาชีพอาจต้องทำงานแตกต่างกันไปอาชีพจึงรวม อาชีพ การงาน ตำแหน่งไว้ในคำๆ เดียวกัน กล่าวโดยสรุป อาชีพ เป็นกระบวนการที่บุคคลทำตลอดช่วงการมีอาชีพซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เป็นพัฒนาการของมนุษย์ทั้งชีวิตทีเดียวการให้ความช่วยเหลือนักเรียนในการตัดสินใจ เลือกอาชีพอย่างถูกต้อง เหมาะสมกับตน
โดยพิจารณาโอกาสความเป็นไปได้ทั้งด้านคุณสมบัติของตนเองและความต้องการด้านกำลังคนในอาชีพนั้นๆ ซึ่งจะทำให้นักเรียนมีความสุขจากความสำเร็จในการประกอบอาชีพในอนาคตนั้นครูจำเป็นต้องมีความรู้ความคิด หลักการเลือกอาชีพ พัฒนาการทางด้านอาชีพเพื่อเป็นแนวทางช่วยเหลือนักเรียนไปในแนวทางที่พึงประสงค์ดังกล่าวอย่างมีประสิทธิภาพยิ่ง
นักทฤษฎีทางอาชีพมีมากมายหลายกลุ่มเพื่อความสะดวกในการศึกษา
การดำเนินงานแนะแนวในโรงเรียน การแนะแนวอาชีพ (๒๕๓๘, หน้า ๑๕๑๙)
จึงได้จัดกลุ่มทฤษฎีทางอาชีพ เป็น กลุ่ม คือ
กลุ่มที่ ทฤษฎีวิเคราะห์ลักษณะและองค์ประกอบ (Trait and Factor Tehories)
) ทฤษฎีของพาร์สัน (Parsons’ Theory)
) ทฤษฎีของวิลเลียมสัน (Williamson’s Theory)
กลุ่มที่ ทฤษฎีอิงบุคลิกภาพ (Personality Based Theories)
) ทฤษฎีของโรว์ (Roe’s Theory)
) ทฤษฎีของฮอลแลนด์ (Holland’s Theory)
กลุ่มที่ ทฤษฎีพัฒนาการ (Developmental Theories)
) ทฤษฎีของกินส์เบอร์ก (Ginzberg’s Theory)
) ทฤษฎีของซูเปอร์ (Super’s Theory)
) ทฤษฎีของทีเดอแมนและโอฮารา (Tiedeman and O’hara’s Theory)
กลุ่มที่ ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม (Social Learning Theories)
) ทฤษฎีของวอร์แนธ (Warnath ’s Theory)
กลุ่มที่ ทฤษฎีสถานการณ์ (Situational Theories)
๑)ทฤษฎีของลิพเสทท์ (Lipsett’sTheory)
ทฤษฎีทางอาชีพที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ อาจสรุปเป็นแนวความคิด เชิงความรู้เกี่ยวกับอาชีพและพัฒนาการทางด้านอาชีพ ดังนี้
. พัฒนาการทางอาชีพ เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นต่อเนื่องตลอดชีวิตของคนเรา ทำให้ สามารถพยากรณ์ได้ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้ เพื่อให้ชีวิตมีความสุขมากที่สุด
. กรรมพันธุ์ก็ดี สิ่งแวดล้อมก็ดี เป็นมูลเหตุสำคัญที่ทำให้คนเรามีความสามารถและบุคลิกภาพที่ต่างกันในการเข้าสู่อาชีพ และเป็นมูลเหตุให้คนเรามีการปรับตัวเพื่อความสำเร็จในอาชีพมากบ้าง น้อยบ้าง แตกต่างกัน
. แรงจูงใจ เจตคติ และค่านิยม มีอิทธิพลต่อการปรับปรุงบุคลิกภาพต่องานอาชีพ ซึ่งเสริมสร้างโดยผ่านความต้องการทางจิตวิทยา และการพัฒนาความคิดต่ออาชีพของแต่ละบุคคลได้
. คนเราเรียนรู้เรื่องอาชีพได้หลายวิธี จากประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน จากครอบครัวจากคนในชุมชน และจะเพิ่มพูนความรู้ เจตคติต่ออาชีพมากขึ้นเรื่อย ๆ เหล่านี้มีความสำคัญต่อการตัดสินใจเลือกอาชีพของคนเราด้วย
. คนเราจะประสบความสำเร็จในการประกอบอาชีพนั้น จะต้องมีองค์ประกอบทั้ง ๒ ด้านคือ องค์ประกอบส่วนตัว ได้แก่ บุคลิกภาพ ความสนใจ เจตคติ ค่านิยม ความสามารถ และองค์ประกอบภายนอก ได้แก่ โอกาส สภาพทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และคนเราจะพึงพอใจอาชีพที่ทำก็ต่อเมื่ออาชีพนั้นทำให้ได้แสดงความสามารถเด่นชัดเจนตัวเองยอมรับ
. พัฒนาการด้านอาชีพ เป็นกระบวนการพัฒนาความเข้าใจตนเอง ความรู้เกี่ยวกับอาชีพค่านิยม นิสัยและทักษะการทำงาน ตลอดจนพัฒนาทักษะการคิด การตัดสินใจ ซึ่งเป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับประสบการณ์ตั้งแต่วัยเด็ก
. พัฒนาการด้านอาชีพ มีขั้นตอนพัฒนาไปตามวัย สำหรับวัยเด็ก เป็นระยะที่เด็กมีการก่อตัว เกี่ยวกับความรู้สึกต่อตนเอง ต่ออาชีพ เริ่มสนใจข้อมูลอาชีพ มีการพัฒนานิสัยและทักษะในการทำงาน ทักษะการคิดและการตัดสินใจ ถ้าพัฒนาการวัยเด็กดำเนินไปอย่างราบรื่น ก็จะทำให้พัฒนาการขั้นต่อไปดำเนินไปด้วยดี
จากแนวความคิดดังกล่าวนี้ ช่วยให้เกิดความตระหนักว่า กระบวนการแนะแนวอาชีพ ต้องค่อยเป็นค่อยไป และต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายทั้งโรงเรียน ผู้ปกครอง และตัวนักเรียนโดยมุ่งเน้นให้นักเรียนเป็นผู้ตัดสินใจ ให้มีความเข้าใจตนเอง และเข้าใจโลกของงานอาชีพ ซึ่งไม่อาจดำเนินการได้ในเร็ววัน แต่ต้องใช้เวลาทั้งหมดที่นักเรียนศึกษาอยู่ในโรงเรียนทีเดียว อย่างไรก็ตาม แม้จะต้องใช้เวลายาวนานเพียงไร โรงเรียนก็คงต้องยินดีช่วยกัน เพื่อความสุข ความสำเร็จในการประกอบอาชีพของเยาวชนผู้จะเป็นอนาคตของชาติสืบไป
.๓ นโยบายโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน
       กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดยุทธศาสตร์ ๒๕๕๕ ภายใต้กรอบเวลา ๒ ปี ที่จะพัฒนา๕ ศักยภาพของพื้นที่ใน ๕ กลุ่มอาชีพใหม่ ให้สามารถแข่งขันได้ใน๕ ภูมิภาคหลักของโลก“รู้เขา รู้เรา เท่าทัน เพื่อแข่งขันได้ในเวทีโลก” และได้กำหนดภารกิจจะพัฒนายกระดับการจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความ สามารถให้ประชาชนได้มีอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ ที่มั่นคง โดยสำนักงาน กศน.ได้กำหนดหลักการในการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำไว้ว่า ต้องเป็นการดำเนินงานที่มีความยืดหยุ่นด้านหลักสูตร การจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล ใน ๕ กลุ่มอาชีพ ได้แก่ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม     พาณิชยกรรม เศรษฐกิจสร้างสรรค์ รวมถึงกลุ่มจัดการและการบริการ โดยเน้นการบูรณาการให้สอดคล้องกับศักยภาพด้านต่างๆ โดยมุ่งพัฒนาคนไทยให้ได้รับการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและการมีงานทำอย่างมีคุณภาพ ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน สามารถสร้างรายได้ที่มั่นคง
 
 
 
 
 
บทที่ ๓
วิธีการดำเนินการ
. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 
ประชากร  ประชาชนผู้สนใจตำบลคลองพน จำนวน   16 คน
     กลุ่มตัวอย่าง ประชาชนผู้สนใจตำบลคลองพน จำนวน 16   คน
. เครื่องมือที่ใช้
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินผลการจัดกิจกรรมครั้งนี้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับความคิดเห็นของนักศึกษา เกี่ยวกับการจัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพ จำนวน 1 ฉบับ ลักษณะของแบบสอบถาม แบ่งเป็น 3 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
                   ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามการดำเนินการจัดกิจกรรมโดยวัดระดับความพึงพอใจ ความรู้ความ
เข้าใจ และการนำไปใช้
                   ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
.วิธีการดำเนินงาน
.๑ สำรวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและประชาสัมพันธ์รับสมัครผู้เรียนพร้อมทั้งติดต่อวิทยากรในการแนะนำให้ความรู้
.๒ จัดทำโครงการ และขออนุมัติโครงการเพื่อเปิดกลุ่มการเรียนการสอนโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ตำบลคลองพน (การถักกระเป๋าเชือกร่ม) และเตรียมวัสดุ
.๓ ดำเนินกิจกรรมตามโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (การถักกระเป๋าเชือกร่ม) โดยมีกิจกรรมดังนี้
.๓.๑ วิทยากรอธิบายความรู้เบื้องต้นการการถักกระเป๋าเชือกร่มและการเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการถัก
.๓.๒ ผู้เรียนและวิทยากรร่วมกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
.๓.๓ วิทยากรอธิบายเรื่องการถักกระเป๋าเชือกร่ม
.๓.๔ วิทยากรอธิบายขั้นตอนการถัก และการทำลวดลายต่างๆ
.๓.๕ วิทยากรอธิบายขั้นการฝึกปฏิบัติการถักกระเป๋าเชือกร่ม
. การวิเคราะห์ข้อมูล
.๑ ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ
.๒ นำผลวิเคราะห์ทางสถิติมาแปลผล ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 ระดับ ประกอบด้วย
-                   ต่ำกว่าร้อยละ ๕๐ มีความพึงพอใจในระดับ น้อยที่สุด
-                   ร้อยละ ๕๐– ๖๙ มีความพึงพอใจในระดับ น้อย
-                   ร้อยละ ๗๐ – ๗๙ มีความพึงพอใจในระดับ ปานกลาง
-                   ร้อยละ ๘๐- ๘๙ มีความพึงพอใจในระดับ มาก
-                   ร้อยละ ๙๐ – ๑๐๐ มีความพึงพอใจในระดับ มากที่สุด
. สถิติที่ใช้
          วิเคราะห์ผลการจัดกิจกรรมโดยใช้สถิติ ความถี่   ร้อยละ  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
บทที่ ๔
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
 
จากการดำเนินงานการจัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนตำบลคลองพน  (การถักกระเป๋าเชือกร่ม)
ตั้งแต่วันที่ 20  –  29 เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗    ณ บ้านเลขที่ 36 หมู่ที่ 3  ต.คลองพน อ.คลองท่อม จ.กระบี่ ของ กศน.ตำบลคลองพน สามารถประเมินผลโครงการได้ดังนี้
ตอนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป (ต้องการหาค่าร้อยละ)
ตารางที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตัวแปร
จำนวน
ร้อยละ
เพศ
   - หญิง
   - ชาย
 
16
-
 
100
รวม
16
๑๐๐
อายุ
   - ต่ำกว่า ๒๐ ปี
   - อายุระหว่าง 20 – 30   ปี
   -  อายุระหว่าง 31 – 40   ปี
   - อายุ 41 ปี ขึ้นไป
 
-
1
6
9
 
 
6.25
37.5
56.25
 
รวม
16
๑๐๐
อาชีพ
- เกษตรกร
- รับจ้าง/ลูกจ้าง
- ธุรกิจส่วนตัว
- รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ
- อื่น ๆ
 
8
2
-
-
6
 
 
50
12.5
-
-
37.5
รวม
16
๑๐๐
 
          ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 100) และเพศชาย (ร้อยละ -) 
 มีอายุระหว่าง 20 – 30 ปี จำนวน 1 คน (ร้อยละ 6.25) รองลงมาคืออายุระหว่าง 31 – 40 ปี
จำนวน 6 คน (ร้อยละ 37.5) และอายุ 41 ปี ขึ้นไปจำนวน   9 คน (ร้อยละ 56.25)  
 
 
 
 
ตอนที่ 2 การดำเนินการจัดกิจกรรมโดยวัดระดับความพึงพอใจ ความรู้ความเข้าใจ และการนำไปใช้
ตารางที่ 2 แสดงความคิดเห็นในการดำเนินกิจกรรมในด้านวิทยากร
ประเด็นความคิดเห็น
ระดับความคิดเห็น
ผลการประเมิน
มากที่สุด
มาก
ปานกลาง
น้อย
น้อยที่สุด
ร้อยละ
ผลการประเมิน
1. การถ่ายทอดความรู้ของวิทยากรมีความชัดเจน
9
7
0
0
0
91.25
มากที่สุด
2. ความสามารถในการอธิบายเนื้อหา
10
6
0
0
0
92.50
มากที่สุด
3. การเชื่อมโยงเนื้อหา
8
8
0
0
0
90.00
มาก
4. ความครบถ้วนของเนื้อหาในการศึกษา
10
6
 
0
0
92.50
มากที่สุด
5. การใช้เวลาในแต่ละเนื้อหาที่กำหนดไว้
7
7
1
0
0
78.75
ปานกลาง
6. การตอบข้อซักถามของประชาชน
10
5
1
0
0
87.50
มาก
รวม
54
39
2
0
0
88.75
มาก
จากตารางแสดงความคิดเห็นในทุกการดำเนินกิจกรรมมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุดคิดเป็นรวม ร้อยละ 88.75
ตารางที่ 3 แสดงความคิดเห็นในการดำเนินกิจกรรมในด้านกระบวนการ
ประเด็นความคิดเห็น
ระดับความคิดเห็น
ผลการประเมิน
มากที่สุด
มาก
ปานกลาง
น้อย
น้อยที่สุด
ร้อยละ
ผลการประเมิน
1. ความน่าสนใจของกิจกรรม
14
2
0
0
0
97.50
มากที่สุด
2. กิจกรรมมีความเหมาะสมกับผู้เรียน
16
0
0
0
0
100.00
มากที่สุด
3. กิจกรรมมีความเหมาะสมกับเวลา
9
7
0
0
0
91.25
มากที่สุด
รวม
39
9
0
0
0
96.25
มากที่สุด
 
จากตาราง แสดงความคิดเห็นในการดำเนินกิจกรรมในด้านกระบวนการประเด็นความคิดเห็นความน่าสนใจของกิจกรรม กิจกรรมมีความเหมาะสมกับประชาชนและกิจกรรมมีความเหมาะสมกับเวลาระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุดในทุกประเด็นคิดเป็นรวมร้อยละ 96.25
 
 
 
 
ตารางที่ 4 แสดงความคิดเห็นในการดำเนินกิจกรรมในด้านการบริหารจัดการ
ประเด็นความคิดเห็น
ระดับความคิดเห็น
ผลการประเมิน
มากที่สุด
มาก
ปานกลาง
น้อย
น้อยที่สุด
ร้อยละ
ผลการประเมิน
1. สถานที่จัดกิจกรรมมีความเหมาะสม
8
7
1
0
0
88.75
มาก
2. ความพร้อมของสื่อ/คู่มือ/โสตทัศนูปกรณ์
7
8
1
0
0
87.50
มาก
3. ระยะเวลาในการจัดกิจกรรม
10
6
0
0
0
92.50
มากที่สุด
รวม
25
21
2
0
0
89.58
มาก
 
จากตาราง แสดงความคิดเห็นในการดำเนินกิจกรรมในด้านการบริหารจัดการในสถานที่จัดกิจกรรมมีความเหมาะสม ด้านความพร้อมของสื่อ/คู่มือ/โสตทัศนูปกรณ์และระยะเวลาในการจัดกิจกรรมระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ซึ่งมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 89.58        
 
ตารางที่ 5 แสดงความคิดเห็นในการดำเนินกิจกรรมในด้านความรู้ความเข้าใจ
ประเด็นความคิดเห็น
ระดับความคิดเห็น
ผลการประเมิน
มากที่สุด
มาก
ปานกลาง
น้อย
น้อยที่สุด
ร้อยละ
ผลการประเมิน
1. ความรู้ความเข้าใจก่อนการเรียน
7
8
1
0
0
87.50
มาก
2. ความรู้ความเข้าใจหลังการเรียน
9
5
0
0
0
81.25
มาก
รวม
16
13
1
0
0
84.38
มาก
 
จากตาราง แสดงความคิดเห็นในการดำเนินกิจกรรมในด้านความรู้ความเข้าใจพบว่าความรู้ความเข้าใจก่อนเรียนอยู่ในระดับมากคิดเป็นร้อยละ 81.25 แต่เมื่อทดสอบความรู้ความเข้าใจหลังการเรียนมีระดับดีขึ้นกล่าวคือมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 84.38
 
 
 
 
 
 
 
 
ตารางที่ 6 แสดงความคิดเห็นในการดำเนินกิจกรรมในด้านการนำความรู้ไปใช้
ประเด็นความคิดเห็น
ระดับความคิดเห็น
ผลการประเมิน
มากที่สุด
มาก
ปานกลาง
น้อย
น้อยที่สุด
ร้อยละ
ผลการประเมิน
1. สามารถเผยแพร่/ถ่ายทอดความรู้ได้
5
10
1
0
0
85.00
มาก
2. สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน/ดำรงชีวิตได้
11
5
0
0
0
93.75
มากที่สุด
รวม
16
15
1
0
0
89.38
มาก
 
จากตาราง แสดงความคิดเห็นในการดำเนินกิจกรรมในด้านการนำความรู้ไปใช้ในด้านสามารถเผยแพร่/ถ่ายทอดความรู้ได้และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน/ดำรงชีวิตได้อยู่ในระดับมากมีความพึงพอใจมาก คิดรวมเป็นร้อยละ 89.38
ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
. จากการจัดกิจกรรมดังกล่าวผู้ร่วมโครงการมีความสนใจและมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมมีการพัฒนาขึ้นสามารถใช้เป็นแบบอย่างในการพัฒนาอาชีพได้
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
บทที่ ๕
สรุปและอภิปรายผล
 
สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ
ตารางที่ ๗ สรุปผลการดำเนินโครงการ
ตัวชี้วัด
เกณฑ์
ผลการดำเนินงาน
เป้าหมายการบรรลุ
หมายเหตุ
บรรลุ
ไม่บรรลุ
๑.การดำเนินกิจกรรมในด้านวิทยากร
ร้อยละ ๘๐ มีพึงพอใจระดับมากขึ้นไป
ร้อยละ
๙๐
ü
 
 
๒.การดำเนินกิจกรรมในด้านกระบวนการ
ร้อยละ ๘๐ มีพึงพอใจระดับมากขึ้นไป
ร้อยละ
๙๐
ü
 
 
๓.การดำเนินกิจกรรมในด้านการบริหารจัดการ
ร้อยละ ๘๐มึความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป
ร้อยละ
๙๐
ü
 
 
๔. การดำเนินกิจกรรมในด้านความรู้ความเข้าใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ร้อยละ ๘๐มึความรู้ความเข้าใจระดับมากขึ้นไป
ร้อยละ
๙๐
ü
 
 
๕. การดำเนินกิจกรรมในด้านความมั่นใจในการนำรู้ไปใช้
ร้อยละ ๘๐มึความมั่นใจระดับมากขึ้นไป
ร้อยละ
๙๐
ü
 
 
 
สรุปผล      
.เป้าหมาย
ผู้เข้าร่วมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนตำบลคลองพน  (การถักกระเป๋าเชือกร่ม) กศน. ตำบลคลองพน จากเป้าหมาย  16  คน แต่มีผู้เข้าร่วมโครงการ 16  คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
.การบรรลุวัตถุประสงค์
ในการดำเนินโครงการสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการได้ด้วยดี
ตารางที่ ๘ การบรรลุวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์
การบรรลุวัตถุประสงค์
บรรลุ
ไม่บรรลุ
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ และทักษะในการเรียนรู้ตามหลักสูตร
 
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถปฏิบัติอาชีพที่เรียนรู้ได้จริง
 
 
 
 
. ผลการจัดกิจกรรม
ตารางที่ ๙ ผลการจักกิจกรรม
ตัวชี้วัด
เกณฑ์
ระดับผล
การบรรลุ
บรรลุ
ไม่บรรลุ
.การเข้าเรียนการถักกระเป๋าเชือกร่ม
ร้อยละ ๘๐
ร้อยละ ๑๐๐
 
 
อภิปรายผล
จากการดำเนินโครงการซึ่งสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ในทุกด้านแต่จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่บรรลุเป้าหมายเนื่องจากผู้เข้าร่วมโครงการมีเหตุจำเป็นไม่สามารถเข้าร่วมโครงการได้ และได้มีการติดตามผลการดำเนินการรายบุคคลซึ่งผู้เข้าร่วมโครงการสามารถที่จะนำไปประกอบอาชีพได้เป็นอย่างดีและนำมาใช้ในและจำหน่ายสร้างรายได้เสริมให้กับครอบครัวได้
ข้อเสนอแนะในการทำกิจกรรมในครั้งต่อไป
-
 
 
 
 
 
 
 


เข้าชม : 183
 
 
กศน. ตำบลคลองพน หมู่ที่ 4 ตำบลคลองพน  อำเภอคลองท่อม  จังหวัดกระบี่
Powered by MAXSITE 1.10   Modify by   นิกร เกษโกมล   Version 2.05HD  Update by   นายบุญมา มาดี