[x] ปิดหน้าต่างนี้
 
 

                                                         งานการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ

ลักษณะงานการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ เป็นการศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพของบุคคล และกลุ่มบุคคล ซึ่งมีจุดหมายในชีวิตที่แตกต่างกันโดยมีสาระสำคัญดังนี้
1. การเรียนรู้อาชีพแบบองค์รวมที่ประชาชน ครู กศน. และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกันจัด กิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจชุมชน
2. การออกแบบการเรียนรู้งานอาชีพตามลักษณะของงานการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ

ในรูปแบบการฝึกทักษะอาชีพ การเข้าสู่อาชีพ การพัฒนาอาชีพ และการพัฒนาอาชีพด้วย เทคโนโลยี
3. การเรียนรู้จากการปฏิบัติจริงที่บูรณาการกับวิถีชีวิต โดยใช้วงจรกระบวนการ คิด จำ ทำ
แก้ปัญหาและพัฒนา
4. การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพที่พัฒนาศักยภาพของบุคคลและชุมชนที่สอดคล้องกับ
วิถีชีวิต โดยส่งเสริมการรวมกลุ่มอาชีพ สร้างเครือข่ายอาชีพ มีระบบการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความรู้และประสบการณ์ทำอาชีพ ภายใต้วัฒนธรรมของชุมชน มีกลยุทธ์เพื่อการแข่งขันของชุมชน เป็นชุมชนที่ใช้เทคโนโลยีในการบริหารจัดการแลพัฒนาอาชีพ


แนวทางการจัดกิจกรรม

1. การพัฒนาทักษะอาชีพ สำรวจความต้องการของกลุ่มผู้เรียนและฝึกทักษะอาชีพในลักษณะ หลักสูตรระยะสั้นที่ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนเพื่อให้มีความรู้และทักษะพื้นฐานในอาชีพ
2. การอบรมเพื่อเข้าสู่อาชีพ จัดกิจกรรมต่อเนื่องจากการฝึกทักษะอาชีพหรือจัดเป็นกิจกรรม เฉพาะ เพื่อพัฒนากลุ่มเป้าหมายให้สามารถคิด วิเคราะห์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนาตนเอง
เพื่อเข้าสู่อาชีพ โดยจัดให้มีกระบวนการแนะแนว อาชีพที่มีประสิทธิภาพ
3. การพัฒนาอาชีพ พัฒนาอาชีพของกลุ่มเป้าหมายในลักษณะกลุ่มพัฒนาอาชีพโดยจัดให้มีการ รวมกลุ่มของผู้มีอาชีพประเภทเดียวกันเพื่อรวมเป็นเครือข่ายในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แสวงหา ความรู้และประสบการณ์ ตลอดจนพัฒนาอาชีพของกลุ่มโดยกระบวนการกลุ่ม

การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ ปีงบประมาณที่  2563
ไตรมาสที่  1  และ  2

การจัดการศึกษาต่อเนื่อง  หลักสูตร  การประดิษฐ์จักสานเส้นพลาสติก  จำนวน  50  ชั่วโมง

สรุปผลดำเนินการจัดการศึกษาต่อเนื่อง  หลักสูตรการประดิษฐ์งานจักสารจากเส้นพลาสติก  จำนวน  ๕๐  ชั่วโมง

ระหว่างวันที่ ๗ – ๒๓ เดือน มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙  

ณ  กศน.ตำบลตลิ่งชัน  ตำบลตลิ่งชัน  อำเภอเหนือคลอง  จังหวัดกระบี่

วัตถุประสงค์ของโครงการ

๑.  เพื่อจัดสอนอาชีพให้แก่ประชาชนที่ต้องการเข้าสู่อาชีพใหม่ หรือพัฒนาต่อยอดอาชีพเดิมให้มีงานทำมีรายได้

          ๒.  เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะทางด้านอาชีพ และการเป็นผู้ประกอบการ

          ๓.  เพื่อนำความรู้และประสบการณ์ในการเรียนรู้อาชีพไปใช้เทียบระดับการศึกษาและเทียบโอนความรู้และประสบการณ์เข้าสู่หลักสูตร กศน.

 

งบประมาณ

                   จากเงินงบประมาณ แผนงาน :  เร่งรัดละผลักดันการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน งบรายจ่ายอื่น รหัส ๒๐๐๐๒๐๔๐๐๔๐๐๐๐๐๐ ภายในวงเงิน ๑๑,๐๐๐ บาท (เงินหนึ่งหมื่นหนึ่งพันบาทถ้วน)


วิธีการดำเนินการ 

๑.      การประชุมวางแผน

๒.    ประสานงานภาคีเครือข่าย

๓.     ดำเนินการตามโครงการ

๔.     สรุปผล/ประเมินผลการดำเนินโครงการ

 

ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการร่วมกิจกรรม

ร้อยละ ๘๐ ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีอาชีพใหม่ มีการพัฒนาต่อยอดอาชีพเดิม เพิ่มทักษะการเป็นผู้ประกอบการ มีรายได้ มีงานทำ มีความมั่นคง ยั่งยืน สามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปใช้เทียบระดับการศึกษา เทียบโอนความรู้และประสบการณ์เข้าสู่หลักสูตรขั้นพื้นฐาน กศน. ได้

 

กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ

          ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด  ๑๕ คน

      
ผลการดำเนินงาน

                ประชาชนกลุ่มเป้าหมายใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ มีอาชีพใหม่ มีการพัฒนาต่อยอดอาชีพเดิม เพิ่มทักษะการเป็นผู้ประกอบการ มีรายได้ มีงานทำ มีความมั่นคง ยั่งยืน สามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปใช้เทียบระดับการศึกษา เทียบโอนความรู้และประสบการณ์เข้าสู่หลักสูตรขั้นพื้นฐาน กศน. ได้

 

ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม

          สำรวจความพึงพอใจจากผู้ที่เข้ากิจกรรม  ๑๕   คน จากผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด   คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐

          1. โครงการตรงกับความต้องการ

                    ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดีมาก          คิดเป็นร้อยละ   ๙๕

ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดี               คิดเป็นร้อยละ    ๕

 ระดับความพึงพอใจ  ระดับปานกลาง      คิดเป็นร้อยละ    -

 

          2. ความสามารถในการถ่ายทอดของวิทยากร

                   ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดีมาก           คิดเป็นร้อยละ    ๙๒

ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดี               คิดเป็นร้อยละ    ๘

ระดับความพึงพอใจ  ระดับปานกลาง       คิดเป็นร้อยละ    -

 

          3. ความเหมาะสมของสถานที่จัดกิจกรรม

                   ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดีมาก           คิดเป็นร้อยละ    ๙๕

ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดี               คิดเป็นร้อยละ    ๕

 ระดับความพึงพอใจ  ระดับปานกลาง      คิดเป็นร้อยละ    -

 

          4. ความเหมาะสมของการใช้สื่อ วัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม

                    ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดีมาก          คิดเป็นร้อยละ    ๙๐

 ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดี              คิดเป็นร้อยละ    ๑๐

 ระดับความพึงพอใจ  ระดับปานกลาง      คิดเป็นร้อยละ    -

 

 

          5. สาระความรู้ที่ได้รับจากการฝึกอบรม

                   ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดีมาก           คิดเป็นร้อยละ    ๙๐

ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดี               คิดเป็นร้อยละ    ๑๐

ระดับความพึงพอใจ  ระดับปานกลาง       คิดเป็นร้อยละ    -

          6. ความหลากหลายของกิจกรรมที่จัด

                   ระดับความพึงพอใจ ระดับ ดีมาก            คิดเป็นร้อยละ    ๙๕

ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดี                คิดเป็นร้อยละ    ๕

ระดับความพึงพอใจ  ระดับปานกลาง       คิดเป็นร้อยละ    -

 

          7. ผู้รับบริการมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม

                   ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดีมาก           คิดเป็นร้อยละ    ๙๑

ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดี                คิดเป็นร้อยละ    ๙

ระดับความพึงพอใจ  ระดับปานกลาง       คิดเป็นร้อยละ    -

 

              8.  การนำวัสดุท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์

                    ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดีมาก                    คิดเป็นร้อยละ    ๙๐

ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดี                คิดเป็นร้อยละ    ๑๐

ระดับความพึงพอใจ  ระดับปานกลาง       คิดเป็นร้อยละ    -

 

ประโยชน์ที่ได้รับและการนำไปใช้
๑. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์

คิดเป็นร้อยละ                   มาก               คิดเป็นร้อยละ    ๙๑

ความรู้ที่ได้รับ                  ปานกลาง        คิดเป็นร้อยละ    ๙ 

๒.  เพื่อให้ผู้เข้าร่วมร่วมกิจกรรมสามารถสร้างอาชีพเสริม

คิดเป็นร้อยละ                  มาก               คิดเป็นร้อยละ    ๘๐

ความรู้ที่ได้รับ                  ปานกลาง        คิดเป็นร้อยละ    ๒๐ 

๓.  การนำความรู้ไปเผยแพร่ให้ผู้อื่น

คิดเป็นร้อยละ                   มาก               คิดเป็นร้อยละ    ๘๕

ความรู้ที่ได้รับ                  ปานกลาง        คิดเป็นร้อยละ    ๒๕ 

 

         ๔.   มีการนำกระบวนการกลุ่มไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

คิดเป็นร้อยละ                   มาก               คิดเป็นร้อยละ    ๙๐

ความรู้ที่ได้รับ                  ปานกลาง        คิดเป็นร้อยละ    ๑๐ 

 

         ๕.   การนำความรู้ไปใช้ในการการพัฒนาตนเอง

ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๕๐ กระบวนการทำงาน

ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๒๕ เป็นแบบอย่างที่ดีให้กับผู้อื่น

ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๒๕ ใช้ในชีวิตประจำวัน

        ๖.   การนำความรู้ไปใช้ในการพัฒนาสังคมและชุมชน

                         ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๖๐ นำความรู้ที่ได้รับไปจัดกิจกรรมให้กับคนในชุมชน

ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๒๐ รวมกลุ่มเพื่อให้ชุมชนเข้มแข็ง

ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๒๕ เป็นตัวกลางในการประสานงานภาครัฐเพื่อประโยชน์ของชุมชน

3

            ๗.  ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ  ๗๕ ได้รับข่าวสารประชาสัมพันธ์จาก ครูกศน.ตำบล

            ๘.  ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ  ๒๕  ได้รับข่าวสารประชาสัมพันธ์จาก เพื่อน

 

ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะ     -

 

แนวทางการปรับปรุงครั้งต่อไป

          1. เวลาในการจัดกิจกรรมควรใช้ให้มากกว่านี้

ภาพประกอบการจัดกิจกรรม










การจัดการศึกษาต่อเนื่อง
หลักสูตร การออกแบบบรรจุภัณฑ์  จำนวน  50  ชั่วโมง

สรุปผลดำเนินการจัดการศึกษาต่อเนื่อง  หลักสูตรการออกแบบบรรจุภัณฑ์  จำนวน  ๕๐  ชั่วโมง

ระหว่างวันที่ ๑๘ – ๒๗ เดือน กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙   

ณ  ศูนย์เรียนรู้เรือหัวโทง  ตำบลตลิ่งชัน  อำเภอเหนือคลอง  จังหวัดกระบี่

 

วัตถุประสงค์ของโครงการ

๑.  เพื่อจัดสอนอาชีพให้แก่ประชาชนที่ต้องการเข้าสู่อาชีพใหม่ หรือพัฒนาต่อยอดอาชีพเดิมให้มีงานทำมีรายได้

          ๒.  เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะทางด้านอาชีพ และการเป็นผู้ประกอบการ

          ๓.  เพื่อนำความรู้และประสบการณ์ในการเรียนรู้อาชีพไปใช้เทียบระดับการศึกษาและเทียบโอนความรู้และประสบการณ์เข้าสู่หลักสูตร กศน.

 

งบประมาณ

                   จากเงินงบประมาณ แผนงาน :  เร่งรัดละผลักดันการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน งบรายจ่ายอื่น รหัส ๒๐๐๐๒๐๔๐๐๔๐๐๐๐๐๐ ภายในวงเงิน ๑๑,๐๐๐ บาท (เงินหนึ่งหมื่นหนึ่งพันบาทถ้วน)


วิธีการดำเนินการ 

๑.      การประชุมวางแผน

๒.    ประสานงานภาคีเครือข่าย

๓.     ดำเนินการตามโครงการ

๔.     สรุปผล/ประเมินผลการดำเนินโครงการ

 

ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการร่วมกิจกรรม

ร้อยละ ๘๐ ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีอาชีพใหม่ มีการพัฒนาต่อยอดอาชีพเดิม เพิ่มทักษะการเป็นผู้ประกอบการ มีรายได้ มีงานทำ มีความมั่นคง ยั่งยืน สามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปใช้เทียบระดับการศึกษา เทียบโอนความรู้และประสบการณ์เข้าสู่หลักสูตรขั้นพื้นฐาน กศน. ได้

 

กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ

          ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด  ๑๘ คน

ผลการดำเนินงาน

                ประชาชนกลุ่มเป้าหมายใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ มีอาชีพใหม่ มีการพัฒนาต่อยอดอาชีพเดิม เพิ่มทักษะการเป็นผู้ประกอบการ มีรายได้ มีงานทำ มีความมั่นคง ยั่งยืน สามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปใช้เทียบระดับการศึกษา เทียบโอนความรู้และประสบการณ์เข้าสู่หลักสูตรขั้นพื้นฐาน กศน. ได้

 

ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม

          สำรวจความพึงพอใจจากผู้ที่เข้ากิจกรรม  ๑๘   คน จากผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด   คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐

          1. โครงการตรงกับความต้องการ

                    ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดีมาก          คิดเป็นร้อยละ   ๙๔

ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดี               คิดเป็นร้อยละ    ๖

 ระดับความพึงพอใจ  ระดับปานกลาง      คิดเป็นร้อยละ    -

 

          2. ความสามารถในการถ่ายทอดของวิทยากร

                   ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดีมาก           คิดเป็นร้อยละ    ๙๒

ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดี               คิดเป็นร้อยละ    ๘

ระดับความพึงพอใจ  ระดับปานกลาง       คิดเป็นร้อยละ    -

 

          3. ความเหมาะสมของสถานที่จัดกิจกรรม

                   ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดีมาก           คิดเป็นร้อยละ    ๙๔

ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดี               คิดเป็นร้อยละ    ๖

 ระดับความพึงพอใจ  ระดับปานกลาง      คิดเป็นร้อยละ    -

 

          4. ความเหมาะสมของการใช้สื่อ วัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม

                    ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดีมาก          คิดเป็นร้อยละ    ๙๐

 ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดี              คิดเป็นร้อยละ    ๑๐

 ระดับความพึงพอใจ  ระดับปานกลาง      คิดเป็นร้อยละ    -

 

          5. สาระความรู้ที่ได้รับจากการฝึกอบรม

                   ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดีมาก           คิดเป็นร้อยละ    ๙๐

ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดี               คิดเป็นร้อยละ    ๑๐

ระดับความพึงพอใจ  ระดับปานกลาง       คิดเป็นร้อยละ    -

          6. ความหลากหลายของกิจกรรมที่จัด

                   ระดับความพึงพอใจ ระดับ ดีมาก            คิดเป็นร้อยละ    ๙๔

ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดี                คิดเป็นร้อยละ    ๖

ระดับความพึงพอใจ  ระดับปานกลาง       คิดเป็นร้อยละ    -

 

          7. ผู้รับบริการมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม

                   ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดีมาก           คิดเป็นร้อยละ    ๙๑

ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดี                คิดเป็นร้อยละ    ๙

ระดับความพึงพอใจ  ระดับปานกลาง       คิดเป็นร้อยละ    -

 

              8.  การนำวัสดุท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์

                    ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดีมาก               คิดเป็นร้อยละ    ๙๐

ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดี                        คิดเป็นร้อยละ    ๑๐

ระดับความพึงพอใจ  ระดับปานกลาง            คิดเป็นร้อยละ    -

 

ประโยชน์ที่ได้รับและการนำไปใช้

๑.      เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์

คิดเป็นร้อยละ                   มาก               คิดเป็นร้อยละ    ๙๑

ความรู้ที่ได้รับ                  ปานกลาง        คิดเป็นร้อยละ    ๙ 

๒.  เพื่อให้ผู้เข้าร่วมร่วมกิจกรรมสามารถสร้างอาชีพเสริม

คิดเป็นร้อยละ                  มาก               คิดเป็นร้อยละ    ๘๐

ความรู้ที่ได้รับ                  ปานกลาง        คิดเป็นร้อยละ    ๒๐ 

๓.  การนำความรู้ไปเผยแพร่ให้ผู้อื่น

คิดเป็นร้อยละ                   มาก               คิดเป็นร้อยละ    ๘๕

ความรู้ที่ได้รับ                  ปานกลาง        คิดเป็นร้อยละ    ๒๕  
๔.   มีการนำกระบวนการกลุ่มไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

คิดเป็นร้อยละ                   มาก               คิดเป็นร้อยละ    ๙๐

ความรู้ที่ได้รับ                  ปานกลาง        คิดเป็นร้อยละ    ๑๐ 

 

         ๕.   การนำความรู้ไปใช้ในการการพัฒนาตนเอง

ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๕๐ กระบวนการทำงาน

ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๒๕ เป็นแบบอย่างที่ดีให้กับผู้อื่น

ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๒๕ ใช้ในชีวิตประจำวัน

 

 

        ๖.   การนำความรู้ไปใช้ในการพัฒนาสังคมและชุมชน

                         ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๖๐ นำความรู้ที่ได้รับไปจัดกิจกรรมให้กับคนในชุมชน

ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๒๐ รวมกลุ่มเพื่อให้ชุมชนเข้มแข็ง

ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๒๕ เป็นตัวกลางในการประสานงานภาครัฐเพื่อประโยชน์ของชุมชน

3

          ๗.  ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ  ๗๕ ได้รับข่าวสารประชาสัมพันธ์จาก ครูกศน.ตำบล

          ๘.  ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ  ๒๕  ได้รับข่าวสารประชาสัมพันธ์จาก เพื่อน

 

ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะ     -

 

แนวทางการปรับปรุงครั้งต่อไป

          1. เวลาในการจัดกิจกรรมควรใช้ให้มากกว่านี้

ภาพประกอบกิจกรรม









 

รายละเอียดการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ กศน.ตำบล เมษายน – กันยายน  ๒๕๕๘

กศน.ตำบลตลิ่งชัน

แผนงาน

กิจกรรม

ระยะเวลาดำเนินการ

สถานที่จัดกิจกรรม

งบประมาณ

เป้าหมาย (คน)

ทักษะชีวิต

โครงการโครงการปั่นรักโลก  ปลูกป่าชายเลน

มิถุนายน

ตำบลตลิ่งชัน

 ๒,๐๔๓

๔๐

พัฒนาสังคม ฯ

โครงการ เสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม หลักการปฏิบัติตนเดือนรอมฎอน

มิถุนายน

มัสยิดบ้านคลองรั้ว

๖,๓๐๐

๕๐

เศรษฐกิจพอเพียง

จัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

กรกฎาคม

กศน.ตำบลตลิ่งชัน

๔,๐๐๐

๒๐

ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน

-          การต่อเรือหัวโทงจำลอง

-          ภาษามลายูเพื่อการท่องเที่ยวและบริการ

-          การแต่งหน้าเบื้องต้น

กรกฎาคม

บ้านคลองรั้ว

บ้านปากหรา

กศน.ตำบลตลิ่งชัน

๑๒,๐๐๐

๕,๓๐๐

๕,๐๐๐

๒๐

๑๕

๑๕

ผู้ไม่รู้หนังสือ

ส่งเสริมการอ่านเพื่อป้องกันการลือหนังสือ

มิถุนายน

ตำบลตลิ่งชัน

๒,๐๐๐

 

 



เข้าชม : 619
 
 
กศน.ตำบลตลิ่งชัน ตำบลตลิ่งชัน  อำเภอเหนือคลอง  จังหวัดกระบี่ Powered by MAXSITE 1.10   Modify by   นิกร เกษโกมล   Version 2.05HD  Update by   นายบุญมา มาดี