[x] ปิดหน้าต่างนี้
 
 

     
   
     
   
     
   
     
  จุดเริ่มต้นแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง  
     
 

     ผลจากการใช้แนวทางการพัฒนาประเทศไปสู่ความทันสมัย ได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแก่สังคมไทยอย่างมากในทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม สังคมและสิ่งแวดล้อม อีกทั้งกระบวนการของความเปลี่ยนแปลงมีความสลับซับซ้อนจนยากที่จะอธิบายในเชิงสาเหตุและผลลัพธ์ได้ เพราะการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดต่างเป็นปัจจัยเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน 
     สำหรับผลของการพัฒนาในด้านบวกนั้น ได้แก่ การเพิ่มขึ้นของอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความเจริญทางวัตถุ และสาธารณูปโภคต่างๆ ระบบสื่อสารที่ทันสมัย หรือการขยายปริมาณและกระจายการศึกษาอย่างทั่วถึงมากขึ้น แต่ผลด้านบวกเหล่านี้ส่วนใหญ่กระจายไปถึงคนในชนบท หรือผู้ด้อยโอกาสในสังคมน้อย แต่ว่า กระบวนการเปลี่ยนแปลงของสังคมได้เกิดผลลบติดตามมาด้วย เช่น การขยายตัวของรัฐเข้าไปในชนบท ได้ส่งผลให้ชนบทเกิดความอ่อนแอในหลายด้าน ทั้งการต้องพึ่งพิงตลาดและพ่อค้าคนกลางในการสั่งสินค้าทุน ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ระบบความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และการรวมกลุ่มกันตามประเพณีเพื่อการจัดการทรัพยากรที่เคยมีอยู่แต่เดิมแตกสลายลง ภูมิความรู้ที่เคยใช้แก้ปัญหาและสั่งสมปรับเปลี่ยนกันมาถูกลืมเลือนและเริ่มสูญหายไป 
     สิ่งสำคัญ ก็คือ ความพอเพียงในการดำรงชีวิต ซึ่งเป็นเงื่อนไขพื้นฐานที่ทำให้คนไทยสามารถพึ่งตนเอง และดำเนินชีวิตไปได้อย่างมีศักดิ์ศรีภายใต้อำนาจและความมีอิสระในการกำหนดชะตาชีวิตของตนเอง ความสามารถในการควบคุมและจัดการเพื่อให้ตนเองได้รับการสนองตอบต่อความต้องการต่างๆ รวมทั้งความสามารถในการจัดการปัญหาต่างๆ ได้ด้วยตนเอง ซึ่งทั้งหมดนี้ถือว่าเป็นศักยภาพพื้นฐานที่คนไทยและสังคมไทยเคยมีอยู่แต่เดิม ต้องถูกกระทบกระเทือน ซึ่งวิกฤตเศรษฐกิจจากปัญหาฟองสบู่และปัญหาความอ่อนแอของชนบท รวมทั้งปัญหาอื่นๆ ที่เกิดขึ้น ล้วนแต่เป็นข้อพิสูจน์และยืนยันปรากฎการณ์นี้ได้เป็นอย่างดี 

 
 

...................................................
การจัดการศึกษาเศรษฐกิจพอเพียง

ประจำปีงบประมาณ  2559
ไตรมาสที่  3  และ  4 

โครงการการศึกษาเรียนรู้แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจ


สรุปผลการดำเนินโครงการศึกษาการเรียนรู้แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและ
การจัดทำ
บัญชีครัวเรือน

วันที่  ๒๘  พฤษภาคม   ๒๕๕๙     

ณ กศน.ตำบลตลิ่งชัน  หมู่ที่ ๑  ตำบลตลิ่งชัน  อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่

ชื่อโครงการ  โครงการศึกษาการเรียนรู้แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการจัดทำบัญชีครัวเรือน

 

วัตถุประสงค์ของโครงการ

๑.   เพื่อให้ความรู้การทำบัญชีครัวเรือนแก่ประชาชนตำบลตลิ่งชัน

๒.   เพื่อให้ความรู้การดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

 

งบประมาณ

                   จากเงินงบประมาณ แผนงาน : ขยายโอกาสและพัฒนาคุณภาพการศึกษา ผลผลิตที่ ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมการศึกษานอกระบบ งบดำเนินงาน (โครงการเรียนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้วยกระบวนการบัญชีครัวเรือน)      เป็นเงิน  ๒,๓๖๓ บาท  (เงินสองพันสามร้อยหกสิบสามบาทถ้วน)  


วิธีการดำเนินการ 

๑.      การประชุมวางแผน

๒.    ประสานงานภาคีเครือข่าย

๓.     ดำเนินการตามโครงการ

๔.     สรุปผล/ประเมินผลการดำเนินโครงการ

 

ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการร่วมกิจกรรม

-  ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของผู้เข้าร่วมโครงการ มีความเข้าใจในการนำเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการปลูกพืชแบบธรรมชาติ

 ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเทคนิค  และวิธีการ  และเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการปลูกพืชแบบเกษตรแบบธรรมชาติ

 

กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ

          ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด  ๓๖  คน

 

ผลการดำเนินงาน

                              ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ และเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและแนวทางในการจัดทำบัญชีครัวเรือน มากขึ้น  สามารถนำแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการทำบัญชีครัวเรือน มาปรับใช้ในชีวิตและสามารถดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม

          สำรวจความพึงพอใจจากผู้ที่เข้าร่วมโครงการ  ๒๐  คน จากผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด   คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐

          1. โครงการตรงกับความต้องการ

                    ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดีมาก          คิดเป็นร้อยละ   ๙๓

ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดี               คิดเป็นร้อยละ    ๗

 ระดับความพึงพอใจ  ระดับปานกลาง      คิดเป็นร้อยละ    -

 

          2. ความสามารถในการถ่ายทอดของวิทยากร

                   ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดีมาก           คิดเป็นร้อยละ    ๙๐

ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดี               คิดเป็นร้อยละ    ๑๐

ระดับความพึงพอใจ  ระดับปานกลาง       คิดเป็นร้อยละ    -

 

          3. ความเหมาะสมของสถานที่จัดกิจกรรม

                   ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดีมาก           คิดเป็นร้อยละ    ๙๐

ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดี               คิดเป็นร้อยละ    ๑๐

 ระดับความพึงพอใจ  ระดับปานกลาง      คิดเป็นร้อยละ    -

 

          4. ความเหมาะสมของการใช้สื่อ วัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม

                    ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดีมาก          คิดเป็นร้อยละ    ๙๒

 ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดี              คิดเป็นร้อยละ    ๘

 ระดับความพึงพอใจ  ระดับปานกลาง      คิดเป็นร้อยละ    -

 

          5. สาระความรู้ที่ได้รับจากการฝึกอบรม

                   ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดีมาก           คิดเป็นร้อยละ    ๙๐

ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดี               คิดเป็นร้อยละ    ๑๐

ระดับความพึงพอใจ  ระดับปานกลาง       คิดเป็นร้อยละ    -

 

          6. ความหลากหลายของกิจกรรมที่จัด

                   ระดับความพึงพอใจ ระดับ ดีมาก            คิดเป็นร้อยละ    ๘๙

ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดี                คิดเป็นร้อยละ    ๑๑

ระดับความพึงพอใจ  ระดับปานกลาง       คิดเป็นร้อยละ    -

 

          7. ผู้รับบริการมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม

                   ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดีมาก           คิดเป็นร้อยละ    ๙๑

ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดี                คิดเป็นร้อยละ    ๙

ระดับความพึงพอใจ  ระดับปานกลาง       คิดเป็นร้อยละ    -

 

              8.  การนำวัสดุท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์

                    ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดีมาก                    คิดเป็นร้อยละ    ๙๐

ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดี                คิดเป็นร้อยละ    ๑๐

ระดับความพึงพอใจ  ระดับปานกลาง       คิดเป็นร้อยละ    -

 

ประโยชน์ที่ได้รับและการนำไปใช้

๑.      เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และสามารถจัดทำบัญชีครัวเรือนสำหรับตนเองและครอบครัวได้

คิดเป็นร้อยละ                   มาก               คิดเป็นร้อยละ    ๘๖

ความรู้ที่ได้รับ                  ปานกลาง        คิดเป็นร้อยละ    ๑๔ 

๒.      เพื่อให้ประชาชนทราบรายจ่ายของครอบครัวและจัดการบริหารด้านการเงินอย่างเป็นระบบ

คิดเป็นร้อยละ                   มาก               คิดเป็นร้อยละ    ๙๐

ความรู้ที่ได้รับ                  ปานกลาง        คิดเป็นร้อยละ    ๑๐ 

๓.  การนำความรู้ไปเผยแพร่ให้ผู้อื่น

คิดเป็นร้อยละ                   มาก               คิดเป็นร้อยละ    ๘๕

ความรู้ที่ได้รับ                  ปานกลาง        คิดเป็นร้อยละ    ๒๕ 

         ๔.   มีการนำกระบวนการกลุ่มไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

คิดเป็นร้อยละ                   มาก               คิดเป็นร้อยละ    ๙๐

ความรู้ที่ได้รับ                  ปานกลาง        คิดเป็นร้อยละ    ๑๐ 

 

         ๕.   การนำความรู้ไปใช้ในการการพัฒนาตนเอง

ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๕๐ กระบวนการทำงาน

ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๒๕ เป็นแบบอย่างที่ดีให้กับผู้อื่น

ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๒๕ ใช้ในชีวิตประจำวัน

 

        ๖.   การนำความรู้ไปใช้ในการพัฒนาสังคมและชุมชน

                         ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๖๐ นำความรู้ที่ได้รับไปจัดกิจกรรมให้กับคนในชุมชน

ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๒๐ รวมกลุ่มเพื่อให้ชุมชนเข้มแข็ง

ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๒๕ เป็นตัวกลางในการประสานงานภาครัฐเพื่อประโยชน์ของชุมชน

3

            ๗.  ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ  ๙๐ ได้รับข่าวสารประชาสัมพันธ์จาก ครูกศน.ตำบล

            ๘.  ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ  ๑๐  ได้รับข่าวสารประชาสัมพันธ์จาก เพื่อน

 

ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะ     -

 

แนวทางการปรับปรุงครั้งต่อไป

1.       เวลาในการจัดกิจกรรมควรใช้ให้มากกว่านี้

2.       ควรให้มีกิจกรรมที่หลากหลาย

 

ภาพประกอบกิจกรรม









**************************************************************************************************************************************************************
2. โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงละเกษตรทฤษฏีใหม่  ประจำตำบล

สรุปผลการโครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงละเกษตรทฤษฏีใหม่

ประจำตำบล

วันที่  ๑๓ กรกฎาคม   ๒๕๕๙

ณ  กศน.ตำบลตลิ่งชัน  ตำบลตลิ่งชัน  อำเภอเหนือคลอง  จังหวัดกระบี่

 

ชื่อโครงการ  โครงโครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงละเกษตรทฤษฏีใหม่
           ประจำตำบล

วัตถุประสงค์ของโครงการ

.เพื่อจัดให้ความรู้ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฎีใหม่  แก่ประชาชนในพื้นที่ตำบลตลิ่งชัน

 

งบประมาณ

                   จากเงินงบประมาณ แผนงาน : ขยายโอกาสและพัฒนาคุณภาพการศึกษา ผลผลิตที่ ๔ ผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย   กิจกรรมการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย  งบดำเนินงาน        เป็นเงิน  ๒,๐๐๐ - บาท (เงินสองพันบาทถ้วน)


วิธีการดำเนินการ 

๑.      การประชุมวางแผน

๒.    ประสานงานภาคีเครือข่าย

๓.     ดำเนินการตามโครงการ

๔.     สรุปผล/ประเมินผลการดำเนินโครงการ

 

ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการร่วมกิจกรรม

๑   ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของประชาชนในพื้นที่ตำบลตลิ่งชันได้รับความรู้ ความเข้าใจ  ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฎีใหม่

 

กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ

          ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด  ๓๐ คน

 

ผลการดำเนินงาน

  ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการทรงงานของพระบาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

 

ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม

          สำรวจความพึงพอใจจากผู้ที่เข้าร่วมโครงการ  ๓๐  คน จากผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด   คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐

          1. โครงการตรงกับความต้องการ

                    ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดีมาก          คิดเป็นร้อยละ   ๙๐

ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดี               คิดเป็นร้อยละ    ๑๐

 ระดับความพึงพอใจ  ระดับปานกลาง      คิดเป็นร้อยละ    -

 

          2. ความสามารถในการถ่ายทอดของวิทยากร

                   ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดีมาก           คิดเป็นร้อยละ    ๙

ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดี               คิดเป็นร้อยละ    ๗

ระดับความพึงพอใจ  ระดับปานกลาง       คิดเป็นร้อยละ    -

 

          3. ความเหมาะสมของสถานที่จัดกิจกรรม

                   ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดีมาก           คิดเป็นร้อยละ    ๙๕

ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดี               คิดเป็นร้อยละ    ๕

 ระดับความพึงพอใจ  ระดับปานกลาง      คิดเป็นร้อยละ    -

 

          4. ความเหมาะสมของการใช้สื่อ วัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม

                    ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดีมาก          คิดเป็นร้อยละ    ๙๐

 ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดี              คิดเป็นร้อยละ    ๑๐

 ระดับความพึงพอใจ  ระดับปานกลาง      คิดเป็นร้อยละ    -

 

          5. สาระความรู้ที่ได้รับจากการฝึกอบรม

                   ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดีมาก           คิดเป็นร้อยละ    ๙๐

ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดี               คิดเป็นร้อยละ    ๑๐

ระดับความพึงพอใจ  ระดับปานกลาง       คิดเป็นร้อยละ    -

 

          6. ความหลากหลายของกิจกรรมที่จัด

                   ระดับความพึงพอใจ ระดับ ดีมาก            คิดเป็นร้อยละ    ๙๕

ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดี                คิดเป็นร้อยละ    ๕

ระดับความพึงพอใจ  ระดับปานกลาง       คิดเป็นร้อยละ    -

 

          7. ผู้รับบริการมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม

                   ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดีมาก           คิดเป็นร้อยละ    ๙๑

ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดี                คิดเป็นร้อยละ    ๙

ระดับความพึงพอใจ  ระดับปานกลาง       คิดเป็นร้อยละ    -

 

              8.  การนำวัสดุท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์

                    ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดีมาก                    คิดเป็นร้อยละ    ๙๐

ระดับความพึงพอใจ  ระดับ ดี                คิดเป็นร้อยละ    ๑๐

ระดับความพึงพอใจ  ระดับปานกลาง       คิดเป็นร้อยละ    -

 

ประโยชน์ที่ได้รับและการนำไปใช้

๑.      เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

คิดเป็นร้อยละ                   มาก               คิดเป็นร้อยละ    ๙๑

ความรู้ที่ได้รับ                  ปานกลาง        คิดเป็นร้อยละ    ๙ 

๒.  เพื่อให้ผู้เข้าร่วมร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้

คิดเป็นร้อยละ                  มาก               คิดเป็นร้อยละ    ๙๓

ความรู้ที่ได้รับ                  ปานกลาง        คิดเป็นร้อยละ    ๗ 

๓.  การนำความรู้ไปเผยแพร่ให้ผู้อื่น

คิดเป็นร้อยละ                   มาก               คิดเป็นร้อยละ    ๘๕

ความรู้ที่ได้รับ                  ปานกลาง        คิดเป็นร้อยละ    ๒๕ 

 

         ๔.   มีการนำกระบวนการกลุ่มไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

คิดเป็นร้อยละ                   มาก               คิดเป็นร้อยละ    ๙๐

ความรู้ที่ได้รับ                  ปานกลาง        คิดเป็นร้อยละ    ๑๐ 

 

         ๕.   การนำความรู้ไปใช้ในการการพัฒนาตนเอง

ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๕๐ กระบวนการทำงาน

ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๒๕ เป็นแบบอย่างที่ดีให้กับผู้อื่น

ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๒๕ ใช้ในชีวิตประจำวัน

 

        ๖.   การนำความรู้ไปใช้ในการพัฒนาสังคมและชุมชน

                         ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๖๐ นำความรู้ที่ได้รับไปจัดกิจกรรมให้กับคนในชุมชน

ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๒๐ รวมกลุ่มเพื่อให้ชุมชนเข้มแข็ง

ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๒๕ เป็นตัวกลางในการประสานงานภาครัฐเพื่อประโยชน์ของชุมชน

3

            ๗.  ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ  ๗๕ ได้รับข่าวสารประชาสัมพันธ์จาก ครูกศน.ตำบล

            ๘.  ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ  ๒๕  ได้รับข่าวสารประชาสัมพันธ์จาก เพื่อน

 

ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะ     -

 

แนวทางการปรับปรุงครั้งต่อไป

          1. ควรจัดเป็นประจำทุกไตรมาส

ภาพกิจกรรม









*********************************************************************************************

รายละเอียดการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ กศน.ตำบล ตลิ่งชันเมษายน – กันยายน  ๒๕๕๘


แผนงาน

กิจกรรม

ระยะเวลาดำเนินการ

สถานที่จัดกิจกรรม

งบประมาณ

เป้าหมาย (คน)

ทักษะชีวิต

โครงการโครงการปั่นรักโลก  ปลูกป่าชายเลน

มิถุนายน

ตำบลตลิ่งชัน

 ๒,๐๔๓

๔๐

พัฒนาสังคม ฯ

โครงการ เสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม หลักการปฏิบัติตนเดือนรอมฎอน

มิถุนายน

มัสยิดบ้านคลองรั้ว

๖,๓๐๐

๕๐

เศรษฐกิจพอเพียง

จัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

กรกฎาคม

กศน.ตำบลตลิ่งชัน

๔,๐๐๐

๒๐

ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน

-          การต่อเรือหัวโทงจำลอง

-          ภาษามลายูเพื่อการท่องเที่ยวและบริการ

-          การแต่งหน้าเบื้องต้น

กรกฎาคม

บ้านคลองรั้ว

บ้านปากหรา

กศน.ตำบลตลิ่งชัน

๑๒,๐๐๐

๕,๓๐๐

๕,๐๐๐

๒๐

๑๕

๑๕

ผู้ไม่รู้หนังสือ

ส่งเสริมการอ่านเพื่อป้องกันการลืมหนังสือ

มิถุนายน

ตำบลตลิ่งชัน

๒,๐๐๐




รายละเอียดการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ กศน.ตำบล 
ตลิ่งชันเมษายน – กันยายน  ๒๕๕๘

 
     

 



เข้าชม : 1236
 
 
กศน.ตำบลตลิ่งชัน ตำบลตลิ่งชัน  อำเภอเหนือคลอง  จังหวัดกระบี่ Powered by MAXSITE 1.10   Modify by   นิกร เกษโกมล   Version 2.05HD  Update by   นายบุญมา มาดี