[x] ปิดหน้าต่างนี้
 
 

เนื้อหา : Download
หมวดหมู่ : ทดสอบหมวดหมู่
หัวข้อเรื่อง : คู่อมือเรียนด้วยตนเอง ใบงานภาษาไทย ม.ปลาย

อังคาร ที่ 9 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2559


 คู่มือการเรียนด้วยตนเอง
ประกอบหนังสือเรียนรายวิชาภาษาไทย
(พช 31001)
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
โปรดอ่านคู่มือนี้ให้เข้าใจก่อนและปฏิบัติตามขั้นตอนที่กำหนด
สถาบันการศึกษาทางไกล
สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ
คำนำ
คู่มือการเรียนด้วยตนเองประกอบหนังสือเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จัดทำขึ้นเพื่อใช้ควบคู่ไปกับหนังสือเรียนในรายวิชาที่สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกำหนดให้เป็นหนังสือเรียน โดยเฉพาะนักศึกษาที่เรียนโดยวิธีเรียนทางไกลที่ต้องศึกษาด้วยตนเองเป็นหลัก คู่มือการเรียน ด้วยตนเองจึงเสมือนแผนที่นำทางให้นักศึกษาเรียนรู้อย่างเป็นขั้นตอนให้สามารถเรียนรู้และเข้าใจตลอดจนสามารถตรวจสอบความรู้ความเข้าใจด้วยตัวนักศึกษาเอง
ในการจัดทำคู่มือการเรียนด้วยตนเองประกอบหนังสือเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้รับความร่วมมือจากผู้เชี่ยวชาญและผู้เกี่ยวข้อง จึงขอบคุณทุกท่านมา ณ โอกาสนี้
สถาบันการศึกษาทางไกล
สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
พฤษภาคม 2553
สารบัญ
เรื่อง
หน้า
คำนำ
สารบัญ
ส่วนที่ 1 คำชี้แจงก่อนเรียน
4
1) วิธีและขั้นตอนการเรียนทางไกล
4
2) โครงสร้างรายวิชา
6
3) การวางแผนการเรียน
6
ส่วนที่ 2 เนื้อหาสาระและกิจกรรมการเรียนท้ายบท
8
คำชี้แจงการเรียน
8
1) แบบทดสอบตนเองก่อนเรียน
9
2) เนื้อหาสาระและกิจกรรมการเรียนท้ายบท
18
3) แบบทดสอบตนเองหลังเรียน
42
ส่วนที่ 3 เฉลยแบบทดสอบตนเองก่อนเรียน-หลังเรียน
และกิจกรรมการเรียนท้ายบท
51
1) เฉลยแบบทดสอบก่อน/หลังเรียน
51
2) เฉลยกิจกรรมการเรียนทางไกล
51-67
ส่วนที่ 1 คำชี้แจงก่อนเรียน
นักศึกษาต้องศึกษาส่วนที่ 1 ให้เข้าใจถึงวิธีการเรียนและขั้นตอนการเรียนด้วยตนเอง โครงสร้างรายวิชา การวางแผนการเรียน เพื่อให้สามารถเรียนด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง
ขอให้นักศึกษาอ่านส่วนที่ 1 ทั้งหมดก่อนแล้วศึกษาต่อไปในส่วนที่ 2 ซึ่งเป็นการศึกษาเนื้อหาสาระอย่างย่อ ศึกษาเนื้อหาสาระอย่างละเอียดในหนังสือเรียนรายวิชาและการทำกิจกรรมท้ายบทตามกำหนดรวมทั้งตรวจสอบความเข้าใจจากเฉลยส่วนที่ 3 ในคู่มือนี้
1) วิธีและขั้นตอนการเรียนทางไกล
วิธีการเรียน การเรียนทางไกลจะเป็นรูปแบบการเรียนรู้ด้วยตนเองจากสื่อในลักษณะต่างๆ ดังนี้
1. การเรียนรู้ด้วยตนเองจากชุดการเรียนทางไกล เป็นการศึกษาและเรียนรู้เนื้อหาสาระ ทำกิจกรรมที่มอบหมายโดยตอบคำถามในลักษณะต่างๆ และ/หรือการฝึกปฏิบัติตามที่กำหนดไว้
2. การเรียนรู้ด้วยตนเองในลักษณะของการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากสื่อการเรียนรู้ เช่น CD VCD ผู้รู้และแหล่งการเรียนรู้อื่นๆ
3. ชุดการเรียนทางไกลประกอบไปด้วย สื่อ 3 ประเภท คือ
3.1 คู่มือการเรียนรู้ด้วยตนเอง ใช้สำหรับประกอบหนังสือเรียน ซึ่งประกอบด้วยคำชี้แจง คำแนะนำเพื่อบอกขั้นตอนต่างๆในการเรียน แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนเพื่อตรวจสอบความรู้และความเข้าใจของนักศึกษา
3.2 หนังสือเรียน เป็นเอกสารที่ประกอบด้วย สาระสำคัญ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ขอบข่ายเนื้อหา รายละเอียดของเนื้อหาสาระในรายวิชานั้นๆและกิจกรรมท้ายบทแต่ละเรื่อง
3.3 สื่อเสริมการเรียน ในบางเนื้อหาจะกำหนดให้นักศึกษาได้ศึกษาเพิ่มเติมจากสื่อในรูปแบบของ ซีดี วีซีดี จากหนังสือเรียนเพื่อให้เกิดความเข้าใจมากยิ่งขึ้นโดยเฉพาะกรณีที่ต้องอาศัยการฟัง การดูภาพเคลื่อนไหวที่ไม่สามารถเรียนจากหนังสือเรียนได้ หรืออาจจะมอบหมายให้ผู้เรียนไปฟังผู้รู้ในชุมชนหรือศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้อื่นๆเพื่อเพิ่มพูนความรู้จากหนังสือเรียนก็ได้
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......4
ขั้นตอนการเรียน
ศึกษาคู่มือการเรียนด้วยตนเอง ควบคู่กับหนังสือเรียนรายวิชา
คู่มือเรียนด้วยตนเอง
การสอบ (การวัดผลเรียน) จะมีการสอบระหว่างภาคเรียนโดยสถาบันฯจะส่งข้อสอบอัตนัย(ข้อเขียน) ให้นักศึกษาสอบเองที่บ้าน (Take home) และการสอบปลายภาคนักศึกษาต้องเข้าสอบ (ข้อสอบปรนัย) ยังสถานที่ที่สถาบันฯกำหนด ทั้งนี้การสอบและการตัดสินผลการสอบจะปรากฏในคู่มือนักศึกษาที่จะส่งผลให้นักศึกษาทุกคน
ส่วนที่ 1 คำชี้แจงก่อนเรียน
- วิธีและขั้นตอนการเรียนทางไกล
ส่วนที่ 2 เนื้อหาสาระและกิจกรรมท้ายบท
- ทำแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre - test)
- ศึกษาเนื้อหาจากบทที่ 1 – บทสุดท้าย
(โดยศึกษาจากหนังสือเรียนรายวิชา)
- ทำกิจกรรมท้ายบทในคู่มือนี้
- ตรวจสอบ/แนวตอบจากคำเฉลยในส่วนที่ 3
- ทำแบบทดสอบหลังเรียน (Post - test)
- โครงสร้างรายวิชา
- การวางแผนการเรียน
ส่วนที่ 3 คำเฉลย
- เฉลยแบบทดสอบก่อน/หลังเรียน
- เฉลยกิจกรรมท้ายบท
หนังสือเรียนรายวิชา
- สาระสำคัญ
- ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
- ขอบข่ายเนื้อหา
ศึกษาเนื้อหา
- รายละเอียดเนื้อหา บทที่1 – บทสุดท้าย
- กิจกรรมท้ายบท
ทำกิจกรรม
หนังสือเรียนรายวิชา
* กิจกรรมท้ายบทให้นักศึกษาทำกิจกรรมท้ายบทในคู่มือเรียนด้วยตนเองแทน ....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......5
โครงสร้างรายวิชาภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ขอบข่ายเนื้อหา รายวิชาภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย แบ่งออกได้เป็น 5 บท คิดเป็น 5 หน่วยกิต หน่วยกิตละ 40 ชั่วโมง โดยใช้เวลาในการเรียนรวมทั้งสิ้นจำนวน 200 ชั่วโมง โดยมีรายละเอียดดังปรากฏในหนังสือเรียนรายวิชาภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
การวางแผนการเรียน
นักศึกษาทางไกล จะเรียนเนื้อหาสาระและทำกิจกรรมท้ายบทหรือศึกษาสื่อเสริมอื่นๆโดยอาศัยการเรียนด้วยตนเองเป็นหลัก การกำหนดช่วงเวลาในการศึกษาและทำกิจกรรมอย่างเป็นขั้นตอนและสม่ำเสมอจะช่วยสร้างความเข้าใจได้ดี สามารถบริหารเวลาให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดได้ ระยะเวลาในการเรียน แต่ละภาคเรียน ประมาณ 14 – 16 สัปดาห์
ภาคเรียนที่ 1 : ระหว่างสัปดาห์ที่ 2 ของเดือนพฤษภาคม สิ้นสุดการเรียนประมาณกลางเดือนกันยายน
ภาคเรียนที่ 2 : ระหว่างต้นเดือนพฤศจิกายน สิ้นสุดการเรียนประมาณเดือนกุมภาพันธ์
ให้นักศึกษากำหนดเวลาเรียนของนักศึกษาเองในตารางแผนการเรียน ดังนี้
สัปดาห์ที่
วัน/เดือน/ปี
การศึกษาเนื้อหาสาระ
เวลา/ชั่วโมง
หมายเหตุ
1
2
3
………………………………………
บทที่ 1 การฟัง การดู
เรื่องที่ 1 การเลือกสื่อในการฟังและดู
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์ วิจารณ์เรื่อง
เรื่องที่ 3 มารยาทในการฟังและดู
บทที่ 2 การพูด
เรื่องที่ 1 มารยาทในการพูด
เรื่องที่ 2 ลักษณะการพูดที่ดี
เรื่องที่ 3 การพูดในโอกาสต่างๆ
30
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......6
สัปดาห์ที่
วัน/เดือน/ปี
การศึกษาเนื้อหาสาระ
เวลา/ชั่วโมง
หมายเหตุ
4
5
6
7
__________
__________
__________
__________
บทที่ 3 การอ่าน
เรื่องที่ 1 ความสำคัญของการอ่าน
เรื่องที่ 2 การวิจารณญาณในการอ่าน
เรื่องที่ 3 การอ่านแปลความ ตีความ การขยายภาพ
จับใจความหรือสรุปความ
เรื่องที่ 4 วรรณคดี
เรื่องที่ 5 หลักการวิจารณ์วรรณกรรม
เรื่องที่ 6 ภาษาถิ่น
เรื่องที่ 7 สำนวน สุภาษิต
เรื่องที่ 8 วรรณกรรมท้องถิ่น
50
8
9
10
______________________________
บทที่ 4 การเขียน
เรื่องที่ 1หลักการเขียน
เรื่องที่ 2 หลักการแต่งคำประพันธ์
เรื่องที่ 3 มารยาทและนิสัยรักการเขียน
50
11
12
13
14
……………………………………………………
บทที่ 5 หลักการใช้ภาษา
เรื่องที่ 1 ธรรมชาติของภาษา
เรื่องที่ 2 ถ้อยคำ สำนวน สุภาษิต คำพังเพย
เรื่องที่ 3 การใช้พจนานุกรมและสารานุกรม
เรื่องที่ 4 คำราชาศัพท์
50
สัปดาห์ที่ 10 -14 สภาบันฯจะส่งข้อสอบระหว่างภาค(ข้อสอบอัตนัย)ให้นักศึกษาทำถึงบ้านและส่งคืนภายในสัปดาห์ที่ 14
15
16
__________
ทบทวนความเข้าใจ
20
ให้นักศึกษาลงแผนการเรียนของนักศึกษาเองตามวัน/เดือน/ปีที่ลงทะเบียนและพยายามศึกษาตามแผนที่กำหนด
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......7
ส่วนที่ 2 สาระสำคัญและกิจกรรมการเรียนทางไกล
คำชี้แจงการเรียน
การศึกษาเนื้อหาสาระและทำกิจกรรมการเรียนท้ายบท ให้นักศึกษาเรียนควบคู่กัน คือ ดูคำชี้แจงจากคู่มือฉบับนี้ ศึกษาเนื้อหาจากหนังสือเรียนแล้วกลับมาทำกิจกรรมตามที่กำหนดในคู่มือนี้ และตรวจสอบความเท็จจริงการเรียนจากคำเฉลยในส่วนที่ 3 ของคู่มือนี้ โดยปฏิบัติตามขั้นตอนดังนี้
1. ทำแบบทดสอบก่อนเรียน(ในหน้าถัดไป) ตรวจสอบผลคำเฉลยตอนที่ 3 แล้วบันทึกคะแนนในแบบบันทึกคะแนนใต้คำเฉลย เพื่อให้ทราบว่านักศึกษามีพื้นความรู้ในเรื่องนี้มากน้อยเพียงใด(อย่าได้กังวนว่าจะได้คะแนนมากหรือน้อย)
2. ให้นักศึกษาศึกษาเนื้อหาสาระ ในหนังสือเรียนพร้อมทำกิจกรรมท้ายบท เมื่อนักศึกษาศึกษาเนื้อหาในแต่ละเรื่องแล้วให้กลับมาทำกิจกรรมท้ายบทในคู่มือเล่มนี้ พร้อมบันทึกลงในแบบบันทึกกิจกรรม ให้ดำเนินการตามที่กล่าวตั้งแต่บทที่ 1 ถึงบทที่ 3 จนครบทุกเนื้อหาและกิจกรรม
3. ทำแบบทดสอบหลังเรียน ตรวจสอบผลจากเฉลย แล้วบันทึกคะแนนในแบบบันทึกคะแนนใต้คำเฉลย ให้นักศึกษาเทียบคะแนนที่ได้กับคะแนนก่อนเรียน หากต่ำกว่าครึ่งหรือ 50% ให้นักศึกษาลองกลับไปทบทวนโดยศึกษาเนื้อหาอีกรอบ จนกว่าจะได้คะแนนมากกว่า 50% ถือว่านักศึกษาผ่านการศึกษาเนื้อหาสาระและกิจกรรมการเรียนท้ายบทแล้ว (ที่สำคัญอย่าดูคำเฉลยก่อนที่จะตอบ หากไม่เช่นนั้นนักศึกษาจะไม่สามารถตรวจสอบความเข้าใจที่แท้จริงของท่านได้)
เมื่อพร้อมแล้วให้นักศึกษาทำแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อให้ทราบว่ามีพื้นความรู้ในเรื่องนี้ก่อนจะเรียนมากน้อยเพียงใด โปรดอย่าดูคำเฉลยก่อนทำแบบทดสอบ
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......8
1) แบบทดสอบตนเองก่อนเรียน
จงเขียน Ο ล้อมรอบคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
1. ข้อใดอ่านผิด
ก. ปุณยา อ่านว่า ปุน-นะ-ยา
ข. ศากยะ อ่านว่า สาก-กะ-ยะ
ค. สันนิษฐาน อ่านว่า สัน-นิ-ถาน
ง. อุตสาหกรรม อ่านว่า อุด-สา-หะ-กำ
2. ข้อใดไม่ใช่ความสำคัญของการอ่าน
ก. ทันเหตุการณ์
ข. มีความเพลิดเพลิน
ค. มีความร่ำรวยมากขึ้น
ง. ชีวิตมีความสมบูรณ์มากขึ้น
3. ข้อใดเป็นขั้นตอนแรกของการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ
ก. วิเคราะห์เรื่อง
ข. ประเมินค่าเรื่องที่อ่าน
ค. อ่านให้เข้าใจตลอดเรื่อง
ง. จับใจความสำคัญของเรื่อง
4. ข้อใดเป็นความหมายของการอ่านเพื่อวิจารณ์
ก. อ่านเพื่ออธิบายความของเรื่อง
ข. อ่านและประเมินค่าเรื่องที่อ่าน
ค. อ่านเพื่อมุ่งค้นหาสาระของเรื่อง
ง. อ่านอย่างพิจารณาเพื่อแยกแยะความหมาย
5. ถ้านักศึกษาต้องการอ่านหนังสือเพื่อการผ่อนคลาย ควรเลือกหนังสือประเภทใด
ก. สารคดี
ข. นิตยสาร
ค. บทความ
ง. ตำราเรียน
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......9
6. ข้อใดเป็นขั้นตอนแรกในการเขียนรายงานทุกประเภท
ก. กำหนดหัวเรื่อง
ข. ตั้งจุดประสงค์ของเรื่อง
ค. กำหนดแนวคิดที่จะนำเสนอ
ง. ศึกษาเอกสารเพื่อเป็นข้อมูล
7. ข้อใดไม่ใช่หลักการเขียนที่ดี
ก. ใช้ภาษาที่สร้างสรรค์
ข. ใช้ภาษาที่ถูกต้องตามอักขรวิธี
ค. ใช้ภาษาที่ทันสมัยเพื่อจูงใจให้คนอ่าน
ง. ใช้ภาษาที่มีความหมายชัดเจนและสื่อความได้ดี
8. ข้อใดเป็นองค์ประกอบของการเขียนเรียงความ
ก. คำนำ เนื้อเรื่อง บทสรุป
ข. คำนำ ข้อสนับสนุน บทสรุป
ค. คำนำ เนื้อเรื่อง ข้อสนับสนุน
ง. คำขึ้นต้น สถานที่เขียน เนื้อหา
9. “พุธโธ่ นางแดงเอ๋ย” คำกล่าวนี้ผู้เขียนมีความรู้สึกเช่นใด
ก. เสียใจ
ข. เศร้าใจ
ค. สงสาร
ง. สะเทือนใจ
10. ข้อใดเป็นหลักการสำคัญในการย่อความ
ก. รูปแบบที่ถูกต้องชัดเจน
ข. การเรียบเรียงด้วยภาษาของตนเอง
ค. เนื้อหาหลักสำคัญของเรื่องครบถ้วน
ง. เนื้อเรื่องย่อเป็น 1 ใน4 ของเนื้อเรื่องเดิม
11. ข้อใดเป็นลักษณะผู้ฟังหรือผู้ดูที่ดี
ก. สมชายสนใจฟังเฉพาะเรื่องที่ตนเองสนใจ
ข. รัตนานั่งฟังอย่างตั้งใจและจดบันทึกไปด้วย
ค. แดงวิจารณ์ผู้พูดตลอดระยะเวลาการบรรยาย
ง. สมศรีมีความกระตือรือร้นอยากฟังการบรรยายครั้งนี้
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......10
12. ข้อใดเป็นหลักการฟังที่สำคัญที่สุด
ก. มีสมาธิที่ดีในการฟัง
ข. มีการเตรียมตนเองก่อนฟัง
ค. มีความกระตือรือร้นในการฟัง
ง. มีการจดบันทึกระหว่างการฟัง
13. ข้อใดควรปฏิบัติเป็นอันดับแรกในการสนทนากับบุคคลที่แรกรู้จัก
ก. ทักทายด้วยคำสุภาพเพื่อแสดงความเป็นมิตร
ข. ทักทายและถามเรื่องส่วนตัวของคู่สนทนา
ค. พูดคุยเรื่องส่วนตัวเป็นการสร้างความคุ้นเคย
ง. เริ่มทักทายและพูดคุยด้วยเรื่องของครอบครัวตนเอง
14. ถ้าท่านได้รับเชิญให้ไปบรรยายให้ผู้อื่นฟัง ท่านจำเป็นต้องมีข้อมูลใดเป็นอันดับแรก
ก. สถานที่จัดบรรยาย
ข. วันและเวลาที่บรรยาย
ค. รูปแบบของสถานที่บรรยาย
ง. วัตถุประสงค์ของการบรรยาย
15. ถ้าท่านต้องไปสัมภาษณ์ผู้ใหญ่เพื่อขอความรู้ ท่านควรปฏิบัติตามข้อใดเป็นอันดับแรก
ก. ศึกษาเรื่องที่จะสัมภาษณ์ให้เข้าใจ
ข. สมภาษณ์ด้วยความสุภาพเรียบร้อย
ค. ประสานงานเพื่อขอนัดหมายผู้ให้สัมภาษณ์
ง. จัดเตรียมอุปกรณ์เพื่อการบันทึกผลการสัมภาษณ์
16. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงของภาษา
ก. ความเจริญของเทคโนโลยี
ข. การพูดกันในชีวิตประจำวัน
ค. การได้รับอิทธิพลจากต่างประเทศ
ง. การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม
17. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะเด่นของภาษาไทย
ก. มีคำเดียวหรือเป็นคำโดด
ข. มีตัวสะกดเป็นมาตรา
ค. มีความหมายแน่นอน
ง. มีเสียงวรรณยุกต์
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......11
18. ข้อใดเป็นการใช้ภาษาที่เป็นภาษาแบบแผน
ก. กรมอุตุแจ้งว่าน้ำจะท่วมกรุงเทพฯ
ข. น้ำจะท่วมกรุงเทพฯ กรมอุตุนิยมแจ้งไว้
ค. กรมฯ อุตุบอกว่าปีนี้น้ำจะท่วมกรุงเทพฯ
ง. กรมอุตุนิยมวิทยาเตือนประชาชนให้ระวังน้ำจะท่วมกรุงเทพฯ
19. ข้อใดเป็นคำสมาส
ก. สำเนียง
ข. สุขาภิบาล
ค. สภากาชาด
ง. ประชาธิปไตย
20. ข้อใดเป็นคำไทยที่ยืมมาจากภาษาเขมร
ก. บรรทม ตระการ บำเพ็ญ
ข. บำเพ็ญ กางเกง ประสูติ
ค. ศัตรู กระทรวง กระบือ
ง. ศาสตรา โคตร บำเพ็ญ
21. ข้อใดหมายถึง วรรณกรรม
ก. หนังสือที่แต่งดี
ข. หนังสือทุกชนิด
ค. หนังสือที่ได้รับการยกย่อง
ง. หนังสือที่เป็นที่นิยมแพร่หลาย
22. วรรณกรรมปัจจุบันเริ่มในรัชกาลใด
ก. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ข. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
ค. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ง. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
23. ข้อใดเป็นหลักในการวิจารณ์วรรณกรรมร้อยแก้ว
ก. ให้ความรู้ถูกต้อง
ข. มีรูปแบบเหมาะสม
ค. มีการแสดงความคิดสร้างสรรค์
ง. ถูกทุกข้อ
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......12
24. วรรณกรรมที่มีคุณค่าได้แก่วรรณกรรมประเภทใด
ก. เนื้อหาความคิดดี
ข. กลวิธีการแต่งดี
ค. มีคุณประโยชน์
ง. ถูกทุกข้อ
25. ข้อใดเป็นวรรณกรรมร้อยแก้วประเภทบันเทิงคดี
ก. เรื่องสั้น
ข. บทความ
ค. จดหมาย
ง. ชีวประวัติ
26. การดูข่าวสารจากทางโทรทัศน์หรือวิทยุ ควรใช้หลักการในข้อใด
ก. ควรเชื่อเพราะสื่อได้นำเสนอแล้ว
ข. ใช้วิจารณญาณความรู้และความมีเหตุผล
ค. ควรนำประเด็นข่าวไปสอบถามกับเพื่อนๆ
ง. หากข่าวเสนอเหมือนๆ กัน แสดงว่าเป็นความจริง
27. การรับรู้ข่าวสารแล้ว นำมาพูดคุยแสดงความคิดอย่างมีเหตุผลคือข้อใด
ก. การวิเคราะห์
ข. การวินิจ
ค. การวิจารณ์
ง. การวิจัย
28. ในการปฐมนิเทศนักศึกษา ผู้อำนวยการได้เป็นประธานและ...................แก่นักศึกษา
ก. กล่าวให้โอวาท
ข. กล่าวปราศรัย
ค. กล่าวสุนทรพจน์
ง. กล่าวบรรยาย
29.ในการปฐมนิเทศดังกล่าว นักศึกษามีข้อข้องใจในการเรียน นักศึกษาควรปฏิบัติอย่างไร
ก. ซักถามด้วยเสียงอันดังและชัดเจนในทันที
ข. ซักถามเพื่อนที่นั่งอยู่ข้างๆ
ค. ยกมือก่อนลุกขึ้นถามเมื่อถึงช่วงเวลาให้ถาม
ง. เก็บข้อสงสัยไว้ถามเมื่อเสร็จสิ้นการปฐมนิเทศแล้ว
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......13
30. ข้อใดคือคุณธรรมในการพูด
ก. พูดด้วยน้ำเสียงนุ่มนวลชวนฟัง
ข. รับผิดชอบในการพูด พูดแต่สิ่งที่ดี
ค. พูดคัดค้านโต้แย้ง เมื่อเห็นว่าผิด
ง. พูดแต่สิ่งที่คนฟังชอบ
31. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะการพูดที่ดี
ก. ต้องมีเนื้อหาดี
ข. มีวิธีการถ่ายทอดดี
ค. มีบุคลิกภาพดี
ง. พูดโดยใช้ภาษาท้องถิ่น
32. ข้อใดไม่ควรเป็นคำทักทายที่ดี
ก. สวัสดีค่ะคุณอ้อม ทำไมวันนี้ดูซูบจัง
ข. สวัสดีค่ะคุณอ๋อย วันนี้แต่งตัวสวยจัง
ค. สวัสดีค่ะคุณอ้อย ลูกๆ สบายดีหรือค่ะ
ง. สวัสดีค่ะคุณอ๋อย ไปเที่ยวมาสนุกไหมคะ
33. เมื่อนักศึกษาต้องไปสัมภาษณ์งาน สิ่งแรกที่ต้องทำเมื่อพบผู้สัมภาษณ์คือข้อใด
ก. ค้อมศีรษะเล็กน้อยแล้วนั่ง
ข. เดินตัวตรงอย่างมั่นใจแล้วนั่ง
ค. ยกมือสวัสดีพร้อมแนะนำตัวเองสั้นๆแล้วนั่ง
ง. ถอนสายบัว แล้วแนะนำตนเอง
34. เมื่อนักศึกษาต้องการถามข้อมูลการให้บริการ ควรปฏิบัติตามข้อใด
ก. สวัสดีค่ะ ขอทราบข้อมูลเรื่อง..........หน่อยค่ะ
ข. ที่ไหนค่ะ ช่วยตอบเรื่อง..........หน่อย
ค. สงสัยเรื่อง..........ช่วยตอบหน่อยได้ไหม
ง. ขอประทานโทษค่ะช่วยตอบเรื่อง..........หน่อยได้ไหม
35. ข้อใดอธิบายคำว่า ใจความสำคัญ ได้ถูกต้อง
ก. ข้อความที่มีสาระคลุมข้อความอื่นๆทั้งหมด
ข. ข้อความที่ให้รายละเอียดทั้งหมด
ค. ข้อความที่ให้สาระเนื้อหาเบื้องต้น
ง. ข้อความอยู่ในย่อหน้าแรก
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......14
36. นวนิยายเรื่อง “สตาร์วอร์” เป็นภาพยนต์ที่จัดอยู่ในประเภทใด
ก. ประวัติศาสตร์
ข. วิทยาศาสตร์
ค. เรื่องลึกลับ
ง. เกี่ยวกับการเมือง
37. ละครในข้อใดที่แสดงให้เห็นถึงความอิจฉาริษยาทำให้เกิดทุกข์
ก. ปลาบู่ทอง
ข. พระเวสสันดรชาดก
ค. ลิลิตพระลอ
ง. ไกรทอง
38. การใช้พยัญชนะซ้ำให้เกิดคำซ้ำที่เรียกว่า คำอัพพาส คือข้อใด
ก. นรา
ข. บ่วาย
ค. เนตรา
ง. ยะแย้ม
39. จดหมายที่ใช้ติดต่อ ข้อความใช้เป็นหลักฐาน มีเลขที่หนังสือและทะเบียนรับส่ง จัดเป็นหนังสือในข้อใด
ก. จดหมายราชการ
ข. จดหมายกิจธุระ
ค. จดหมายธุรกิจ
ง. จดหมายสมัครงาน
40. มีความนำ เนื้อเรื่อง และสรุปลงท้าย คือรูปแบบการเขียนในข้อใด
ก. นวนิยาย
ข. บทละคร
ค. ย่อความ
ง. เรียงความ
41. ข้อใดอธิบายคำว่า พลความ ได้ถูกต้อง
ก. ข้อความสำคัญในการพูดหรือเขียน
ข. ข้อความที่เป็นรายละเอียดนำมาขยายใจความสำคัญ
ค. ข้อความที่สามารถตัดทิ้งไปได้
ง. ข้อความที่เป็นใจความ
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......15
42. การจดบันทึกโดยใช้สัญลักษณ์ > หมายความว่า
ก. มากกว่า
ข. น้อยกว่า
ค. ไปสู่
ง. ไปหา
43. การเขียนที่มีหลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ เป้าหมาย วิธีดำเนินการ ระยะเวลา สถานที่ งบประมาณ เครือข่ายและการประเมิน จัดเป็นการเขียนในข้อใด
ก. จดหมายสมัครงาน
ข. การเขียนรายงาน
ค. โครงการ
ง. บันทึกการประชุม
44. ข้อใดอธิบายคำว่า ฉันทลักษณ์ ได้ถูกต้อง
ก. ข้อความที่มีแบบแผน บังคับจำนวนคำ วรรค สัมผัส
ข. ข้อความที่แสดงความปรารถนาดีต่อผู้อื่น
ค. ข้อความที่ชี้ให้เห็นถึงความดี ความวิเศษของสินค้าหรือบริการ
ง. การบอกกล่าวหรือชี้แจงเรื่องราวต่างๆ ให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
45. การพูดที่แบ่งคนออกเป็น 2 กลุ่มเท่าๆ กัน มีความเห็นตรงกันข้าม พลัดกันพูด เพื่อจูงใจอีกฝ่ายให้คล้อยตามตน เรียกการพูดแบบนี้ในข้อใด
ก. การปาฐกถา
ข. การรายงาน
ค. การอภิปราย
ง. การโต้วาที
46. การที่บุคคลร่วมกันพูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นประสบการณ์ เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิดใหม่และร่วมกันแก้ปัญหา เป็นการพูดในข้อใด
ก. การอภิปราย
ข. การรายงาน
ค. การเสนอโครงการ
ง. การให้สัมภาษณ์
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......16
47. กริยาที่คนยกของด้วยมือมอบให้พระ ใช้คำว่า
ก. อนุโมทนา
ข. ไทยทาน
ค. ประเคน
ง. เภสัช
48. คำที่มีหลายความหมายแต่เป็นคำคำเดียวกัน เช่น ขัน เรียกว่า
ก. คำพ้องรูป
ข. คำพ้องเสียง
ค. คำไทยแท้
ง. คำผสม
49. ความหมายของคำว่า ศัพท์บัญญัติ คือข้อใด
ก. คำที่เป็นศัพท์จากต่างประเทศ
ข. คำที่นิยมใช้อย่างแพร่หลาย
ค. คำที่ปรากฏในร้อยแก้ว
ง. คำเฉพาะองค์กรหรือเฉพาะวิชา
50. เครื่องหมาย นขลิขิต คือข้อใด
ก. “......”
ข. ( )
ค. ฯ
ง. -
เมื่อทำแบบทดสอบแล้ว ให้ตรวจสอบความถูกต้องจากคำเฉลยส่วนที่ 3 แล้ว ลงคะแนนที่ได้ใน
แบบบันทึกคะแนนใต้คำเฉลยการทดสอบก่อนเรียน
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......17
2) เนื้อหาสาระและกิจกรรมการเรียนท้ายบท
ให้นักศึกษาศึกษาเนื้อหาสาระและทำกิจกรรมการเรียนท้ายบทในคู่มือหน้าถัดไป โดยศึกษาไปทีละบท ทีละเรื่องจากหนังสือเรียนรายวิชา ในแต่ละบทจะมีส่วนต่างๆ คือ
1) สาระสำคัญ (ทั้งในคู่มือและในหนังสือเรียน)
2) ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
3) ขอบข่ายเนื้อหา
4) เนื้อหาในบทซึ่งจะแบ่งออกเป็นเรื่องย่อยๆ
5) กิจกรรมการเรียนท้ายบท (ให้นักศึกษาให้กิจกรรมท้ายบทในคู่มือเล่มนี้ ซึ่งออกแบบเพื่อให้สอดคล้องกับการเรียนวิธีเรียนทางไกลและกิจกรรมในหนังสือเรียน)
เมื่อศึกษาตั้งแต่ข้อ 1,2,3 และ 4 และให้กลับมาทำกิจกรรมการเรียนท้ายบทในคู่มือนี้ไปทีละเรื่องและดูคำเฉลยหรือแนวตอบในส่วนที่ 3 เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ
ในระหว่างเรียน หากมีปัญหาข้อสอบใดๆเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาให้ติดต่อ ครูที่ปรึกษาที่สถาบันการศึกษาทางไกลแต่งตั้งและแจ้งนักศึกษาไว้ และหากมีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องสื่อการเรียน งานทะเบียน การสอบหรือธุรการอื่นๆให้ติดต่อ ครูแนะแนว หรือผู้ที่เกี่ยวข้องของสถาบันการศึกษาทางไกลได้โดยตรง ทั้งทางจดหมาย โทรศัพท์ โทรสาร ทางอีเมล์หรือทางเว็บไซด์ของสถาบันการศึกษาทางไกลได้ตลอดเวลา
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......18
กิจกรรมการเรียนท้ายบท
เมื่อนักศึกษาศึกษาเนื้อหาในหนังสือเรียนรายวิชาภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายครบถ้วน แล้วให้ทำกิจกรรมท้ายบท ตรวจสอบคำตอบหรือแนวตอบในคำเฉลยส่วนที่ 3 ในกรณีที่มีการแลกเปลี่ยนความรู้ กับผู้รู้ คนใกล้ชิด เพื่อน นักศึกษา ครูที่ปรึกษาแล้วให้เก็บผลงานของท่านไว้เพื่อเป็นข้อมูลในการทำข้อสอบระหว่างภาค(ข้อสอบอัตนัย)
กิจกรรมท้ายบทที่ 1 การฟัง การดู
กิจกรรมที่ 1 ให้นักศึกษาบอกหลักในการฟังและดูอย่างสร้างสรรค์
_____________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
กิจกรรมที่ 2 ให้นักศึกษาฟังหรือดูเรื่องราวจากสื่อวิทยุ โทรทัศน์ หรืออินเตอร์เน็ต และสรุปสาระสำคัญ
บันทึกสาระสำคัญที่ได้จากการฟังและดู
1. ชื่อเรื่อง
2. ฟังหรือดูรายการผ่านทาง...............
3. วัน/เดือน/ปี ที่นำเสนอ.............
4. สาระสำคัญ
______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......19
__________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
5. ประโยชน์ที่ได้รับ
____________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
กิจกรรมที่ 3 ให้นักศึกษาตอบคำถามต่อไปนี้
1. วิจารณญาณในการฟังและดู หมายถึง
__________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
2. ขั้นตอนในการฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ คือ
____________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
3. บอกความหมายของคำต่อไปนี้
3.1 การวิเคราะห์ หมายถึง_____________________________________________________
__________________________________________________________________________________
3.2 การวินิจ หมายถึง_________________________________________________________
__________________________________________________________________________________
3.3 การวิจารณ์ หมายถึง_______________________________________________________
__________________________________________________________________________________
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......20
กิจกรรมที่ 4 ให้นักศึกษาสรุปหลักเกณฑ์ในการวิจารณ์สารที่ได้รับตามชนิดของสาร
1. ข่าวและสารประชาสัมพันธ์
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
2. ละคร ภาพยนตร์
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
3. การสนทนา
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
4. คำสัมภาษณ์บุคคล
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
5. คำปราศรัย
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
6. คำบรรยาย
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......21
7. คำกล่าวอภิปราย
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
8. คำให้โอวาท
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
กิจกรรมที่ 5 ให้นักศึกษาบอกมารยาทในการฟังและดูในโอกาสต่างๆ
1. การฟังและดูเฉพาะหน้าผู้ใหญ่
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
2. การฟังและดูในที่ประชุม
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
3. การฟังและดูในที่สาธารณะ
_________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......22
4. การฟังและดูในลานกว้าง
_________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
กิจกรรมที่ 6 นักศึกษาสามารถนำความรู้จากการฟังและการดูไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไรบ้าง จงบอกมาอย่างน้อย 5 ประการ
___________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
กิจกรรมที่ 7 ให้นักศึกษาเขียนตัวอย่างความรู้ที่ได้จากการฟังและการดูที่สามารถนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตได้มา 1 เรื่อง และบอกให้ทราบด้วยว่านำไปใช้ได้อย่างไร
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......23
กิจกรรมท้ายบทที่ 2 การพูด
กิจกรรมที่ 8 ให้นักศึกษาอธิบายรายละเอียดตามหัวข้อที่กำหนดให้
1. มารยาทในการพูด มีดังนี้
_________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
2. คุณธรรมในการพูด มีดังนี้
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......24
3. ลักษณะการพูดที่ดี มีดังนี้
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
กิจกรรมที่ 9 ให้นักศึกษาสังเกตการณ์พูดของนักพูดที่ถ่ายทอดผ่านวิทยุ โทรทัศน์ แล้วสรุปข้อดี ข้อเสีย พร้อมเสนอแนะแนวทางในการแก้ไข พร้อมบันทึกรายละเอียดตามข้อมูลที่ได้ศึกษา
1. ชื่อเรื่อง_________________________________________________________________
2. ผู้พูด___________________________________________________________________
3. ฟังและดูผ่านทาง_________________________________________________________
4. วัน/เดือน/ปี ที่นำเสนอ_____________________________________________________
5. สาระสำคัญ______________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......25
6. ข้อดี และข้อเสียที่พบ________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
7. แนวทางแก้ไข__________________________________________________________
____________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
กิจกรรมที่ 10 หากนักศึกษาได้รับหน้าที่ในการสัมภาษณ์ ภูมิปัญญาที่ได้รับความสำเร็จในการประกอบอาชีพ นักศึกษามีการเตรียมความพร้อมอย่างไร
___________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......26
กิจกรรมที่ 11 ให้นักศึกษาอธิบายแนวทางในการพูดแสดงความคิดเห็น พร้อมประโยชน์ที่ได้รับในการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
1. แนวทางในการพูดแสดงความคิดเห็น
____________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
2. ประโยชน์ที่ได้รับในการนำไปใช้ชีวิตประจำวัน
____________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
กิจกรรมที่ 12 ให้นักศึกษาหาโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมในการพูด เพื่อฝึกทักษะและมีประสบการณ์ต่างๆในการพูด พร้อมบันทึกรายละเอียดในการเข้าร่วมกิจกรรม
____________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
__________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......27
กิจกรรมท้ายบทที่ 3 การอ่าน
กิจกรรมที่ 13 ให้นักศึกษาอธิบายรายละเอียดในหัวข้อที่กำหนดให้
1. ความสำคัญของการอ่าน
_________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
2.วิจารณญาณในการอ่าน หมายถึง
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________3. ขั้นตอนของการใช้วิจารณญาณในการอ่าน
______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
4. หลักการใช้วิจารณญาณในการอ่าน
___________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......28
5. การอ่านตีความ
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________6. การอ่านขยายความ
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________7. การอ่านจับใจความหรือสรุปความ
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
กิจกรรมที่ 14 ให้นักศึกษาอ่านโคลงสี่สุภาพที่กำหนด พร้อมเรียบเรียงเนื้อหาเป็นร้อยแก้วที่สละสลวย และสรุปสาระในส่วนของข้อคิดที่ผู้แต่งต้องการนำเสนอ
1. ห้ามเพลิงไว้อย่าให้ มีควัน
ห้ามสุริยะแสงจันทร์ ส่องไซร้
ห้ามอายุให้ทัน คืนเล่า
ห้ามดั่งนี้ไว้ได้ จึงห้ามนินทา
1.1 การแปลความ
______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......29
1.2 ข้อคิดที่ได้รับ
____________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
2. โทษท่านผู้อื่นเพี้ยง เมล็ดงา
ปองติฉินนินทา ท่อนเว้น
โทษตนเท่าภูผา หนักยิ่ง
ป้องปิดคิดซ่อนเร้น เรื่องร้ายหายสูญ
1.1 การแปลความ
_________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
1.2 ข้อคิดที่ได้รับ
__________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
กิจกรรมที่ 15 ให้นักศึกษาเลือกอ่านนวนิยาย 1 เรื่อง พร้อมสรุปสาระสำคัญตามหลักการอ่าน และพิจารณานวนิยาย ในหัวข้อต่าง ๆ ที่กำหนดให้
1. ชื่อเรื่อง
__________________________________________________________________________________
2. ผู้แต่ง
__________________________________________________________________________________
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......30
3. โครงเรื่องและเนื้อเรื่อง
_________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
4. กลวิธีในการดำเนินเรื่อง
____________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
5. ตัวละคร
____________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......31
6. ฉาก
____________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
7. ลารัตถะ(สารของเรื่อง)
____________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
กิจกรรมที่ 16 ให้นักศึกษาเลือกอ่านวรรณคดีไทย 1 เรื่อง พร้อมบอกคุณค่าที่ได้รับจากการอ่านในด้านต่าง ๆ ที่กำหนดอย่างน้อย 5 ด้าน พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
1. ชื่อเรื่อง
2. ผู้แต่ง
3. คุณค่าที่ได้รับจากการอ่าน (เลือกตอบอย่างน้อย 5 ด้าน พร้อมยกตัวอย่างประกอบ)
3.1 คุณค่าด้านจริยศาสตร์
__________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ 3.2 คุณค่าด้านสุนทรียศาสตร์
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......32
3.3 คุณค่าทางด้านศาสนา
__________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________3.4 คุณค่าด้านการศึกษา
__________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ 3.5 คุณค่าด้านภาษา
__________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
3.6 คุณค่าด้านสังคม
__________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ 3.7 คุณค่าด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดี
__________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ 3.8 คุณค่าด้านจิตใจ
__________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......33
3.9 คุณค่าด้านประโยชน์ใช้สอย
__________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
กิจกรรมที่ 17 ให้นักศึกษาอ่านคำประพันธ์เรื่อง ดอกจำปาของตาพลอย และวิจารณ์ถึงคุณค่าด้านเนื้อหาสาระและกลวิธีในการนำเสนอ
ฉันเป็นหนี้ดอกจำปาของตาพลอย ตั้งแต่น้อยยังนึกรำลึกได้
ขอเล่าสู่คุณครูผู้ร่วมใจ ว่าดอกไม้มีอำนาจดลบันดาล
คุณยายฉันท่านพาไปฟังเทศน์ ธรรมวิเศษแสนสุดพุทธบรรหาร
ฉันไม่รู้รสธรรมล้ำโอฬาร ที่พระท่านเทศนาว่าอย่างไร
เพราะตัวฉันยังเด็กยังเล็กนัก จะรู้จักรสพระธรรมได้ไฉน
ที่ฉันไปฟังเทศน์ทุกคราวไป เพราะฉันอยากได้ดอกจำปาของตาพลอย
ตาพลอยดีมีจำปาบูชาพระ เด็กเด็กจะแย่งกันลาอยู่บ่อยบ่อย
ดอกไม้อื่นดื่นไปมีไม่น้อย แต่ไม่ค่อยถูกใจใช่จำปา
เด็กรุ่นฉันพากันไปฟังเทศน์ ก็เพราะเหตุอย่างเดียวจะเทียวหา
ดอกไม่ของตาพลอยเพื่อคอยลา ต่างตั้งท่าแย่งกันทุกวันไป
ดอกจำปาล่อใจให้เป็นเหตุ ฉันคงไปฟังเทศน์หาหยุดไม่
ยิ่งนานวันพลันค่อยเจริญวัย ยิ่งเข้าใจธรรมซึ้งขึ้นทุกที
พุทธประวัติชาดกท่านยกมาอ้าง ความคิดกว้างเห็นงามตามวิถี
รสพระธรรมนำใจให้ใฝ่ดี ฉันเป็นหนี้ดอกจำปาของตาพลอย
(เรื่อง “ดอกจำปาของตาพลอย” ของเจือ สตะเวทิน)
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......34
คุณค่าด้านเนื้อหาสาระและกลวิธีในการนำเสนอ ________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
กิจกรรมที่ 18 ให้นักศึกษาอธิบายรายละเอียดตามหัวข้อที่กำหนดให้
1. ทำนาบนหลังคน
____________________________________________________________________________________
2. ชิงสุกก่อนห่าม
____________________________________________________________________________________
3. กบเลือกนาย
____________________________________________________________________________________
4. ทำบุญเอาหน้า ภาวนากันตาย
____________________________________________________________________________________
5. ฝนทั่งให้เป็นเข็ม
__________________________________________________________________________________
กิจกรรมที่ 20 ให้นักศึกษาเลือกอ่านวรรณกรรมท้องถิ่น 1 เรื่อง และอธิบายคุณค่าที่ได้รับจากการอ่าน
1. ชื่อเรื่อง
__________________________________________________________________________________
2. ผู้แต่ง
__________________________________________________________________________________
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......35
3. เนื้อหาสาระ
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
4. คุณค่าที่ได้รับ
______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
กิจกรรมที่ 20 ให้นักศึกษาอธิบายมารยาทในการอ่าน
1. มารยาทในการอ่าน มีดังนี้
___________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......36
2. การปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน มีดังนี้
___________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
กิจกรรมท้ายบทที่ 4 การเขียน
กิจกรรมที่ 22 ให้นักศึกษาอธิบายรายละเอียดตามหัวข้อที่กำหนด
1. การเขียน หมายถึง
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________2. หลักการเขียนที่ดี มีดังนี้
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
กิจกรรมที่ 23 ให้นักศึกษาอธิบายคำศัพท์ใช้ในการประชุม
1. ผู้เข้าประชุม
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......37
2. วาระ
__________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
3. ข้อเสนอ
__________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
4. สนับสนุน คัดค้าน อภิปราย
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________5. มติ
_____________________________________________________________________________________
กิจกรรมที่ 24 ให้นักศึกษาอธิบายขั้นตอนการเรียนรายงานโดยสรุป
___________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
กิจกรรมที่ 25 ให้นักศึกษาเลือกหัวข้อที่กำหนดให้ 1 หัวข้อแล้วจัดทำเป็นรายงาน (ให้ดำเนินการตามขั้นตอนการเขียนรายงาน ความยาวไม่ต่ำกว่า 20 คำ)
1. อาหารเพื่อสุขภาพ
2. วัฒนธรรมไทย
3. ท่องเที่ยวไทย
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......38
กิจกรรมที่ 26 ให้นักศึกษาเขียนโครงการเรื่อง การพัฒนาทักษะการเขียนของตนเองตามหัวข้อที่กำหนดให้
1. หลักการและเหตุผล
2. วัตถุประสงค์
3. เป้าหมาย
4. วิธีดำเนินการ
5. ระยะเวลา/สถานที่
6. งบประมาณ
7. เครือข่าย/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
8. การประเมินผลโครงการ
9. ผู้รับผิดชอบโครงการ
10. ความสัมพันธ์กับโครงการอื่น
11. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
กิจกรรมที่ 27 ให้นักศึกษาเขียนผังของคำประพันธ์ต่อไปนี้ พร้อมแสดงสัมผัสให้เห็นชัดเจนทั้งในส่วนของสัมผัสภายในบท และสัมผัสระหว่างบท
1. โคลงสี่สุภาพ
____________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
2. กลอนสุภาพ
____________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......39
3. กาพย์ยานี 11
____________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
4. กาพย์ฉบัง 16
____________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
5. กาพย์สุรางคนางค์
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......40
กิจกรรมที่ 28 ให้นักศึกษาแต่งคำประพันธ์ โดยเลือกอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
1. โคลงสี่สุภาพ 1 บท
2. กลอนสุภาพ 1 บท
___________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......41
3) แบบทดสอบตนเองหลังเรียน
จงเขียน Ο ล้อมรอบคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
1. ข้อใดอ่านผิด
ก. วิทยา อ่านว่า วิด-ทะ-ยา
ข. อัคนี อ่านว่า อัก-คะ-นี
ค. มารยาท อ่านว่า มัน-ยาด
ง. ปาฏิหาริย์ อ่านว่า ปา-ติ-หาน
2. ข้อใดไม่ใช่ความสำคัญของการอ่าน
ก. ทันเหตุการณ์
ข. มีความเพลิดเพลิน
ค. มีความร่ำรวยมากขึ้น
ง. ชีวิตมีความสมบูรณ์มากขึ้น
3. ข้อใดเป็นขั้นตอนแรกของการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ
ก. วิเคราะห์เรื่อง
ข. ประเมินค่าเรื่องที่อ่าน
ค. อ่านให้เข้าใจตลอดเรื่อง
ง. จับใจความสำคัญของเรื่อง
4. ข้อใดเป็นความหมายของการอ่านเพื่อวิจารณ์
ก. อ่านเพื่ออธิบายความของเรื่อง
ข. อ่านและประเมินค่าเรื่องที่อ่าน
ค. อานเพื่อมุ่งค้นหาสาระของเรื่อง
ง. อ่านอย่างพิจารณาเพื่อแยกแยะความหมาย
5. ถ้านักศึกษาต้องการอ่านหนังสือเพื่อการผ่อนคลาย ควรเลือกหนังสือประเภทใด
ก. สารคดี
ข. นิตยสาร
ค. บทความ
ง. วิทยานิพนธ์
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......42
6. รัตนาต้องการเขียนบทความหนึ่งเรื่อง รัตนาควรปฏิบัติตามข้อใดเป็นอันดับแรก
ก. ศึกษาเอกสารเพื่อเป็นข้อมูล
ข. กำหนดแนวคิดที่จะนำเสนอ
ค. กำหนดหัวเรื่องและจุดมุ่งหมายของการเขียนบทความ
ง. นำเสนอด้วยภาษาที่ชัดเจนและสื่อความหมายได้ดี
7. ข้อใดไม่ใช่หลักการเขียนที่ดี
ก. บทความของสุนันท์ใช้ภาษาหวือหวา ทันสมัยน่าอ่านจัง
ข. สุนัยเขียนบทความด้วยภาษาที่สร้างสรรค์และชัดเจน
ค. กำจรใช้ภาษาได้อย่างถูกต้องตามอักขรวิธีในการเขียนเรียงความ
ง. คำที่ใช้ในบทความของรัตนามีความหมายชัดเจนและสื่อความได้ดีจัง
8. ข้อใดเป็นความแตกต่างของการเขียนเรียงความและการเขียนบทความ
ก. ส่วนประกอบของทั้งสองประเภทแตกต่างกัน
ข. เรียงความมีความเป็นหนึ่งในเนื้อหาแต่บทความมีหลายเนื้อหา
ค. เรียงความเป็นแนวทางการปฏิบัติ บทความเป็นข้อคิดเห็นทั่วไป
ง. เรียงความให้ความรู้และข้อคิดเห็น บทความเป็นเรื่องจากข่าวหรือเหตุการณ์ปัจจุบัน
9. “แหม วันนี้แต่งตัวสวยจังเลย” ผู้เขียนข้อความดังกล่าวมีความรู้สึกเช่นใด
ก. ดีใจ
ข. ยินดี
ค. ชื่นชม
ง. ยกย่อง
10. ข้อใดเป็นหลักการสำคัญในการย่อความ
ก. มีการอ้างอิงเนื้อหาเดิม
ข. ใช้ภาษาของตนเองในการเรียบเรียง
ค. เนื้อเรื่องย่อเป็น 1 ใน 4 ของเนื้อเรื่องเดิม
ง. มีใจความสำคัญและแต่ละย่อหน้าครบทุกย่อหน้า
11. ข้อใดเป็นลักษณะผู้ฟังหรือผู้ดูที่ดี
ก. แดงสนใจฟังเฉพาะเรื่องที่ตนเองสนใจ
ข. สมศรีวิจารณ์ผู้พูดตลอดระยะเวลาการบรรยาย
ค. สมชายนั่งฟังอย่างตั้งใจและจดบันทึกไปด้วย
ง. รัตนามีความกระตือรือร้นอยากฟังการบรรยายครั้งนี้
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......43
12. ข้อใดเป็นหลักการฟังที่สำคัญที่สุด
ก. มีสมาธิที่ดีในการฟัง
ข. มีการเตรียมตนเองก่อนฟัง
ค. มีความกระตือรือร้นในการฟัง
ง. มีการจดบันทึกระหว่างการฟัง
13. ข้อใดควรปฏิบัติเป็นอันดับแรกในการสนทนากับบุคคลที่แรกรู้จัก
ก. ทักทายด้วยคำสุภาพเพื่อแสดงความเป็นมิตร
ข. ทักทายและถามเรื่องส่วนตัวของคู่สนทนา
ค. พูดคุยเรื่องส่วนตัวเป็นการสร้างความคุ้นเคย
ง. เริ่มทักทายและพูดคุยด้วยเรื่องของครอบครัวตนเอง
14. ถ้าท่านได้รับเชิญให้ไปบรรยายให้ผู้อื่นฟัง ท่านจำเป็นต้องมีข้อมูลใดเป็นอันดับแรก
ก. สถานที่จัดบรรยาย
ข. วันและเวลาที่บรรยาย
ค. รูปแบบของสถานที่บรรยาย
ง. วัตถุประสงค์ของการบรรยาย
15. สุนันท์ได้รับมอบหมายให้ไปสัมภาษณ์ผู้ใหญ่คนหนึ่ง สุนันท์ควรปฏิบัติตามข้อใดเป็นอันแรก
ก. จัดเตรียมอุปกรณ์การสัมภาษณ์
ข. ขอนัดหมายผู้ให้สัมภาษณ์
ค. ศึกษาเรื่องที่จะสัมภาษณ์ให้เข้าใจ
ง. สัมภาษณ์ด้วยความสุภาพเรียบร้อย
16. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงของภาษา
ก. ความเจริญของเทคโนโลยี
ข. การพูดกันในชีวิตประจำวัน
ค. การได้รับอิทธิพลจากต่างประเทศ
ง. การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม
17. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะเด่นของภาษาไทย
ก. มีคำเดียวหรือเป็นคำโดด
ข. มีตัวสะกดเป็นมาตรา
ค. มีความหมายแน่นอน
ง. มีเสียงวรรณยุกต์
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......44
18. ข้อใดเป็นการใช้ภาษาที่เป็นภาษาแบบแผน
ก. กรมอุตุแจ้งว่าน้ำจะท่วมกรุงเทพฯ
ข. น้ำจะท่วมกรุงเทพฯ กรมอุตุนิยมแจ้งไว้
ค. กรมฯ อุตุบอกว่าปีนี้น้ำจะท่วมกรุงเทพฯ
ง. กรมอุตุนิยมวิทยาเตือนประชาชนให้ระวังน้ำจะท่วมกรุงเทพฯ
19. ข้อใดเป็นคำสมาส
ก. เสื้อเชิ้ต
ข. กามเทพ
ค. โรงเรียน
ง. อรุโณทัย
20. ข้อใดเป็นคำไทยที่ยืมมาจากภาษาเขมร
ก. ศาสตรา โคตร บำเพ็ญ
ข. ศัตรู กระทรวง กระบือ
ค. บำเพ็ญ กางเกง ประสูติ
ง. บรรทม ตระการ บำเพ็ญ
21. ข้อใดเป็นหลักสำคัญที่สุดในการเลือกอ่านวรรณกรรม
ก. ทันสมัย
ข. น่าสนใจ
ค. ดีมีคุณค่า
ง. อยู่ในความนิยม
22. นิทานพื้นบ้านที่เล่าต่อๆ กันมาจนภายหลังได้จารึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษรจัดเป็นวัฒนธรรมสาขาใด
ก. ชีวิตความเป็นอยู่พื้นบ้าน
ข. ความเชื่อและขนบธรรมเนียม
ค. ภาษาและวรรณกรรมพื้นบ้าน
ง. ดนตรี นาฏศิลป์และการละเล่นพื้นบ้าน
23. นิทานเรื่อง “พระยากงพระยาพาน” เป็นนิทานประเภทใด
ก. นิทานคติ
ข. นิทานวีรบุรุษ
ค. นิทานประจำถิ่น
ง. ตำนานและเทวปกรณ์
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......45
24. คำว่า “มีดญับ” ในภาษาถิ่นเหนือตรงคำในภาษากลางข้อใด
ก. สิ่ว
ข. มีดพับ
ค. มีดโกน
ง. กรรไกร
25. “ถ้อยคำไพเราะสัมผัสคล้องจอง ทำนองเปรียบเทียบอุปมาอุปมัย” เป็นลักษณะของข้อใด
ก. โวหาร
ข. ปริศนาคำทาย
ค. สำนวนสุภาษิต
ง. คำหยอกสาวอู้บ่าว
26. การดูข่าวสารจากทางโทรทัศน์หรือวิทยุ ควรใช้หลักการในข้อใด
ก. ควรเชื่อเพราะสื่อได้นำเสนอแล้ว
ข. ใช้วิจารณญาณความรู้และความมีเหตุผล
ค. ควรนำประเด็นข่าวไปสอบถามกับเพื่อนๆ
ง. หากข่าวเสนอเหมือนๆ กัน แสดงว่าเป็นความจริง
27. การรับรู้ข่าวสารแล้ว นำมาพูดคุยแสดงความคิดอย่างมีเหตุผลคือข้อใด
ก. การวิเคราะห์
ข. การวินิจ
ค. การวิจารณ์
ง. การวิจัย
28. ในการปฐมนิเทศนักศึกษา ผู้อำนวยการได้เป็นประธานและ...................แก่นักศึกษา
ก. กล่าวให้โอวาท
ข. กล่าวปราศรัย
ค. กล่าวสุนทรพจน์
ง. กล่าวบรรยาย
29.ในการปฐมนิเทศดังกล่าว นักศึกษามีข้อข้องใจในการเรียน นักศึกษาควรปฏิบัติอย่างไร
ก. ซักถามด้วยเสียงอันดังและชัดเจนในทันที
ข. ซักถามเพื่อนที่นั่งอยู่ข้างๆ
ค. ยกมือก่อนลุกขึ้นถามเมื่อถึงช่วงเวลาให้ถาม
ง. เก็บข้อสงสัยไว้ถามเมื่อเสร็จสิ้นการปฐมนิเทศแล้ว
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......46
30. ข้อใดคือคุณธรรมในการพูด
ก. พูดด้วยน้ำเสียงนุ่มนวลชวนฟัง
ข. รับผิดชอบในการพูด พูดแต่สิ่งที่ดี
ค. พูดคัดค้านโต้แย้ง เมื่อเห็นว่าผิด
ง. พูดแต่สิ่งที่คนฟังชอบ
31. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะการพูดที่ดี
ก. ต้องมีเนื้อหาดี
ข. มีวิธีการถ่ายทอดดี
ค. มีบุคลิกภาพดี
ง. พูดโดยใช้ภาษาท้องถิ่น
32. ข้อใดไม่ควรเป็นคำทักทายที่ดี
ก. สวัสดีค่ะคุณอ้อม ทำไมวันนี้ดูซูบจัง
ข. สวัสดีค่ะคุณอ๋อย วันนี้แต่งตัวสวยจัง
ค. สวัสดีค่ะคุณอ้อย ลูกๆ สบายดีหรือค่ะ
ง. สวัสดีค่ะคุณอ๋อย ไปเที่ยวมาสนุกไหมคะ
33. เมื่อนักศึกษาต้องไปสัมภาษณ์งาน สิ่งแรกที่ต้องทำเมื่อพบผู้สัมภาษณ์คือข้อใด
ก. ค้อมศีรษะเล็กน้อยแล้วนั่ง
ข. เดินตัวตรงอย่างมั่นใจแล้วนั่ง
ค. ยกมือสวัสดีพร้อมแนะนำตัวเองสั้นๆแล้วนั่ง
ง. ถอนสายบัว แล้วแนะนำตนเอง
34. เมื่อนักศึกษาต้องการถามข้อมูลการให้บริการ ควรปฏิบัติตามข้อใด
ก. สวัสดีค่ะ ขอทราบข้อมูลเรื่อง..........หน่อยค่ะ
ข. ที่ไหนค่ะ ช่วยตอบเรื่อง..........หน่อย
ค. สงสัยเรื่อง..........ช่วยตอบหน่อยได้ไหม
ง. ขอประทานโทษค่ะช่วยตอบเรื่อง..........หน่อยได้ไหม
35. ข้อใดอธิบายคำว่า ใจความสำคัญ ได้ถูกต้อง
ก. ข้อความที่มีสาระคลุมข้อความอื่นๆทั้งหมด
ข. ข้อความที่ให้รายละเอียดทั้งหมด
ค. ข้อความที่ให้สาระเนื้อหาเบื้องต้น
ง. ข้อความอยู่ในย่อหน้าแรก
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......47
36. นวนิยายเรื่อง “สตาร์วอร์” เป็นภาพยนต์ที่จัดอยู่ในประเภทใด
ก. ประวัติศาสตร์
ข. วิทยาศาสตร์
ค. เรื่องลึกลับ
ง. เกี่ยวกับการเมือง
37. ละครในข้อใดที่แสดงให้เห็นถึงความอิจฉาริษยาทำให้เกิดทุกข์
ก. ปลาบู่ทอง
ข. พระเวสสันดรชาดก
ค. ลิลิตพระลอ
ง. ไกรทอง
38. การใช้พยัญชนะซ้ำให้เกิดคำซ้ำที่เรียกว่า คำอัพพาส คือข้อใด
ก. นรา
ข. บ่วาย
ค. เนตรา
ง. ยะแย้ม
39. จดหมายที่ใช้ติดต่อ ข้อความใช้เป็นหลักฐาน มีเลขที่หนังสือและทะเบียนรับส่ง จัดเป็นหนังสือในข้อใด
ก. จดหมายราชการ
ข. จดหมายกิจธุระ
ค. จดหมายธุรกิจ
ง. จดหมายสมัครงาน
40. มีความนำ เนื้อเรื่อง และสรุปลงท้าย คือรูปแบบการเขียนในข้อใด
ก. นวนิยาย
ข. บทละคร
ค. ย่อความ
ง. เรียงความ
41. ข้อใดอธิบายคำว่า พลความ ได้ถูกต้อง
ก. ข้อความสำคัญในการพูดหรือเขียน
ข. ข้อความที่เป็นรายละเอียดนำมาขยายใจความสำคัญ
ค. ข้อความที่สามารถตัดทิ้งไปได้
ง. ข้อความที่เป็นใจความ
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......48
42. การจดบันทึกโดยใช้สัญลักษณ์ > หมายความว่า
ก. มากกว่า
ข. น้อยกว่า
ค. ไปสู่
ง. ไปหา
43. การเขียนที่มีหลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ เป้าหมาย วิธีดำเนินการ ระยะเวลา สถานที่ งบประมาณ เครือข่ายและการประเมิน จัดเป็นการเขียนในข้อใด
ก. จดหมายสมัครงาน
ข. การเขียนรายงาน
ค. โครงการ
ง. บันทึกการประชุม
44. ข้อใดอธิบายคำว่า ฉันทลักษณ์ ได้ถูกต้อง
ก. ข้อความที่มีแบบแผน บังคับจำนวนคำ วรรค สัมผัส
ข. ข้อความที่แสดงความปรารถนาดีต่อผู้อื่น
ค. ข้อความที่ชี้ให้เห็นถึงความดี ความวิเศษของสินค้าหรือบริการ
ง. การบอกกล่าวหรือชี้แจงเรื่องราวต่างๆ ให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
45. การพูดที่แบ่งคนออกเป็น 2 กลุ่มเท่าๆ กัน มีความเห็นตรงกันข้าม พลัดกันพูด เพื่อจูงใจอีกฝ่ายให้คล้อยตามตน เรียกการพูดแบบนี้ในข้อใด
ก. การปาฐกถา
ข. การรายงาน
ค. การอภิปราย
ง. การโต้วาที
46. การที่บุคคลร่วมกันพูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นประสบการณ์ เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิดใหม่และร่วมกันแก้ปัญหา เป็นการพูดในข้อใด
ก. การอภิปราย
ข. การรายงาน
ค. การเสนอโครงการ
ง. การให้สัมภาษณ์
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......49
47. กริยาที่คนยกของด้วยมือมอบให้พระ ใช้คำว่า
ก. อนุโมทนา
ข. ไทยทาน
ค. ประเคน
ง. เภสัช
48. คำที่มีหลายความหมายแต่เป็นคำคำเดียวกัน เช่น ขัน เรียกว่า
ก. คำพ้องรูป
ข. คำพ้องเสียง
ค. คำไทยแท้
ง. คำผสม
49. ความหมายของคำว่า ศัพท์บัญญัติ คือข้อใด
ก. คำที่เป็นศัพท์จากต่างประเทศ
ข. คำที่นิยมใช้อย่างแพร่หลาย
ค. คำที่ปรากฏในร้อยแก้ว
ง. คำเฉพาะองค์กรหรือเฉพาะวิชา
50. เครื่องหมาย นขลิขิต คือข้อใด
ก. “......”
ข. ( )
ค. ฯ
ง. -
เมื่อทำแบบทดสอบแล้ว ให้ตรวจสอบความถูกต้องจากคำเฉลยส่วนที่ 3 แล้ว ลงคะแนนที่ได้ในแบบบันทึกคะแนนใต้คำเฉลยการทดสอบหลังเรียน
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......50
ส่วนที่3
เฉลยแบบทดสอบตนเองก่อนเรียน – หลังเรียนและกิจกรรมการเรียนท้ายบท
1) เฉลยแบบทดสอบตนเองก่อน – หลังเรียน
เฉลยก่อนเรียน
1. ค
2. ค
3. ค
4. ข
5. ข
6. ก
7. ค
8. ก
9. ค
10. ข
11. ข
12. ก
13. ก
14. ง
15. ก
16. ก
17. ค
18. ง
19. ค
20. ก
21.ข
22. ค
23. ง
24. ง
25. ก
26. ข
27. ค
28. ก
29. ค
30. ข
31. ง
32. ก
33. ค
34. ก
35. ก
36. ข
37. ก
38. ง
39. ก
40. ง
41. ข
42. ก
43. ค
44. ก
45. ง
46. ก
47.ค
48. ก
49.ง
50. ข
• ให้นักศึกษากรอกคะแนนที่ทำได้ คะแนนเก็บ 50 ทำได้ คะแนน
เฉลยหลังเรียน
1. ข
2. ค
3. ค
4. ข
5. ข
6. ค
7. ก
8. ง
9. ค
10. ข
11. ค
12. ก
13. ก
14. ง
15. ค
16. ก
17. ค
18. ง
19. ข
20. ง
21.ค
22. ค
23. ง
24. ง
25. ค
26. ข
27. ค
28. ก
29. ค
30. ข
31. ง
32. ก
33. ค
34. ก
35. ก
36. ข
37. ก
38. ง
39. ก
40. ง
41. ข
42. ก
43. ค
44. ก
45. ง
46. ก
47.ค
48. ก
49.ง
50. ข
• ให้นักศึกษากรอกคะแนนที่ทำได้ คะแนนเก็บ 50 ทำได้ คะแนน
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......51
2) เฉลยกิจกรรมการเรียนท้ายบท
เฉลยกิจกรรม บทที่ 1 การฟัง การดู
กิจกรรมที่ 1 ให้นักศึกษาบอกหลักในการฟังและดูอย่างสร้างสรรค์
หลักการฟังและดูอย่างสร้างสรรค์
1. ต้องเข้าใจความหมาย หลักการเบื้องต้นจองการจับใจความของสารที่ฟังและดูนั้น ต้องเข้าใจความหมายของคำ สำนวนประโยคและข้อความที่บรรยายหรืออธิบาย
2. ต้องเข้าใจลักษณะของข้อความ ข้อความแต่ละข้อความต้องมีใจความสำคัญของเรื่องและใจความสำคัญของเรื่องจะอยู่ที่ประโยคสำคัญ ซึ่งเรียกว่า ประโยคใจความ ประโยคใจความจะปรากฏอยู่ในตอนใดตอนหนึ่งของข้อความ โดยปกติจะปรากฏอยู่ในตอนต้น ตอนกลาง และตอนท้าย หรืออยู่ตอนต้นและตอนท้ายของข้อความผู้รับสารต้องรู้จักสังเกต และเข้าใจการปรากฏของประโยคใจความในตอนต่างๆ ของข้อความจึงจะช่วยให้จับใจความได้ดียิ่งขึ้น
3. ต้องเข้าใจในลักษณะประโยคความ ประโยคใจความ คือข้อความที่เป็นความคิดหลัก ซึ่งมักจะมีเนื้อหาตรงกับหัวข้อเรื่อง เช่น เรื่อง “สุนัข” ความคิดหลักคือ สุนัขเป็นสัตว์เลี้ยงที่รักเจ้าของ แต่การฟังเรื่องราวจากการพูดบางทีไม่มีหัวข้อ แต่จะพูดตามลำดับของเนื้อหา ดังนั้นการจับใจความสำคัญต้องฟังให้ตลอดเรื่องแล้วจับใจความว่า พูดถึงเรื่องอะไร คือจับประเด็นหัวเรื่อง และเรื่องที่เป็นอย่างไรคือ สาระสำคัญหรือใจความสำคัญของเรื่องนั่นเอง
4. ต้องรู้จักประเภทของสาร สารที่ฟังและดูมีหลายประเภท ต้องรู้จักและแยกประเภทสรุปของสารได้ว่า เป็นสารประเภทข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นหรือเป็นคำทักทายปราศรัย ข่าว ละคร สารคดี จะได้ประเด็นหรือใจความสำคัญได้ง่าย
5. ต้องตีความในสารได้ตรงตามเจตนาของผู้ส่งสาร ผู้ส่งสารมีเจตนาที่จะส่งสารต่างๆ กับบางคนต้องการให้ความรู้ บางคนต้องการโน้มน้าวใจ และบางคนอาจจะต้องการส่งสารเพื่อความหมายอื่นๆ ผู้ฟังและดูต้องจับเจตนาให้ได้ เพื่อจะได้จับสารและใจความสำคัญได้
6. ตั้งใจฟังและดูให้ตลอดเรื่อง พยายามเข้าใจให้ตลอดเรื่อง ยิ่งเรื่องยาวสลับซับซ้อนยิ่งต้องตั้งใจเป็นพิเศษและพยายามจับประเด็นหัวเรื่อง กริยาอาการ ภาพและเคลื่อนหมายอื่นๆ ด้วนความตั้งใจ
7. สรุปใจความสำคัญ ขั้นสุดท้ายของการฟังและดูเพื่อจบใจความสำคัญก็คือสรุปให้ได้ว่า เรื่องอะไรใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไรและทำไม หรือบางเรื่องอาจจะสรุปได้ไม่ครบทั้งหมดทั้งนี้ย่อมขึ้นกับสารที่ฟังจะมีใจความสำคัญครบถ้วนมากน้อยเพียงใด ....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......52
กิจกรรมที่ 2 ให้นักศึกษาฟังหรือดูเรื่องราวจากสื่อวิทยุ โทรทัศน์ หรืออินเตอร์เน็ต และ สรุปสาระสำคัญบันทึกสาระสำคัญที่ได้จากการฟังและดูตามความเป็นจริง
1. ชื่อเรื่อง
2. ฟังหรือดูรายการผ่านทาง...............
3. วัน/เดือน/ปี ที่นำเสนอ.............
4. สาระสำคัญ
(พิจารณาให้ครบถ้วนและถูกต้อง)
กิจกรรมที่ 3 ให้นักศึกษาตอบคำถามต่อไปนี้
1. วิจารณญาณในการฟังและดู หมายถึง การรับสารให้เข้าใจเนื้อหาสาระใช้ปัญญาคิดใคร่ครวญโดยอาศัยความรู้ ความคิด เหตุผล และประสบการณ์ประกอบแล้วสามารถนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสม
การฟังและดูให้เกิดวิจารณญาณนั้นมีขั้นตอนในการพัฒนาเป็นลำดับบางทีก็อาจเป็นไปอย่างรวดเร็วบางทีก็ต้องอาศัยเวลา ทั้งนี้ย่อมขึ้นอยู่กับพื้นฐานความรู้ ประสบการณ์ของบุคคลและความยุ่งยากซับซ้อนของเรื่องหรือสารที่ฟัง
2. ขั้นตอนในการฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ คือ
2.1 ฟังและดูให้เข้าใจเรื่อง เมื่อฟังเรื่องใดก็ตามผู้ฟังจะต้องตั้งใจฟังเรื่องนั้นให้เข้าใจตลอดเรื่อง ให้รู้ว่าเนื้อเรื่องเป็นอย่างไร มีสาระสำคัญอะไรบ้าง พยายามทำความเข้าใจรายละเอียดทั้งหมด
2.2 วิเคราะห์เรื่อง จะต้องพิจารณาว่าเรื่องเป็นเรื่องประเภทใดเป็นข่าว บทความ สารคดี ละคร และเป็นร้อยแก้วหรือร้อยกรอง เป็นเรื่องจริงหรือแต่งขึ้นต้องวิเคราะห์ลักษณะของตัวละคร และกลวิธีในการเสนอสารของผู้ส่งสารให้เข้าใจ
2.3 วินิจฉัยเรื่อง คือการพิจารณาเรื่องที่ฟังว่าเป็นข้อเท็จจริง ความรู้สึกความคิดเห็นและผู้ส่งสารหรือผู้พูดผู้แสดงมีเจตนาอย่างไรในการพูดการแสดง อาจจะมีเจตนาที่จะโน้มน้าวในจรรโลงหรือแสดงความคิดเห็นเป็นเรื่องที่มีเหตุมีผลมีหลักฐานน่าเชื่อถือหรือไม่และมีคุณค่ามีประโยชน์เพียงใด
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......53
3. บอกความหมายของคำต่อไปนี้
3.1 การวิเคราะห์ หมายถึง การที่ผู้ฟังและผู้ดูรับสารแล้วพิจารณาองค์ประกอบออกเป็นส่วนต่างๆ นำมาแยกประเภทลักษณะ สาระสำคัญของสาร กลวิธีการเสนอและเจตนาของผู้ส่งสาร
3.2 การวินิจ หมายถึง การพิจารณาสารด้วยความเอาใจใส่ ฟังและดูอย่าง ไตรตรองพิจารณาหาเหตุผลแยกแยะข้อดีข้อเสีย คุณค่าของสาร ตีความหมายและพิจารณาสำนวน ภาษา ตลอดจนน้ำเสียงและการแสดงของผู้ส่งสาร พยายามทำความเข้าใจความหมาย ที่แท้จริงเพื่อให้ได้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ของผู้วินิจ
3.3 การวิจารณ์ หมายถึง การพิจารณาเทคนิคหรือกลวิธีที่แสดงออกมานั้น ให้เห็นว่า น่าคิด น่าสนใจ น่าติดตาม มีชั้นเชิงยอกย้อนหรือตรงไปตรงมา องค์ประกอบใดมีคุณค่าน่าชมเชย องค์ประกอบใดน่าท้วงติงหรือบกพร่องอย่างไร การวิจารณ์สิ่งใดก็ตามจึงต้องใช้ความรู้มีเหตุมีผล มีหลักเกณฑ์และมีความรอบคอบด้วย
ตามปกติแล้ว เมื่อจะวิจารณ์สิ่งใด จะต้องผ่านขั้นตอนและกระบวนการของการวิเคราะห์สาร วินิจสารและประเมินค่าสาร ให้ชัดเจนเสียก่อนแล้ว จึงวิจารณ์แสดงความเห็นออกมาอย่างมีเหตุผลให้น่าคิด น่าฟังและเป็นคำวิจารณ์ที่เชื่อถือได้
กิจกรรมที่ 4 ให้นักศึกษาสรุปหลักเกณฑ์ในการวิจารณ์สารที่ได้รับตามชนิดของสาร
1. ข่าวและสารประชาสัมพันธ์ รูปแบบการเสนอข่าวจะประกอบด้วยหัวข้อข่าว เนื้อข่าวและสรุปข่าวมีหลักในการวิจารณ์คือ พิจารณาแหล่งที่มาของข่าวหรือสารประชาสัมพันธ์นั้น เพื่อดูว่าน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด จากนั้นพิจารณาว่า สารนั้นมีเนื้อหาสมบูรณ์หรือไม่ ทบทวนเนื้อหาข่าวว่ามีความเป็นจริงเพียงใด มีการแสดงความรู้สึก ความคิดเห็นสอดแทรกมาด้วยมากน้อยเพียงใด จากนั้นพิจารณาภาษาในแง่การใช้ภาษาศิลปภาษาและด้านวรรณศิลป์
2. ละคร ภาพยนตร์ มีหลักในการวิจารณ์ คือ ให้พิจารณาความสมจริงของผู้แสดงความปรารถนา มีความสมจริงตามอารมณ์ และความรู้สึกของตัวละครมากน้อยเพียงใด สรุปสาระสำคัญหรือแก่นของเรื่องความเหมาะสมของการจัดฉากกับเนื้อเรื่อง ลักษณะเด่นของตัวละคร การใช้ภาษาถูกต้องเหมาะสมตามหลักการใช้ภาษา ศิลปะภาษาและด้านวรรณศิลป์
3. การสนทนา มีหลักในการวิจารณ์ คือ พิจารณาสาระสำคัญในการสนทนา มีความเป็นจริง และน่าเชื่อถือเพียงใด ผู้ร่วมสนทนามีความรู้และมีความสนใจในเรื่องที่สนทนา
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......54
เพียงใด ภาษาที่ใช้ในการสนทนามีความถูกต้องเหมาะสม ชัดเจน และมีน้ำเสียงตลอดจนลีลาการพูดน่าฟังหรือไม่
4. คำสัมภาษณ์บุคคล มีหลักในการวิจารณ์ คือ ผู้สัมภาษณ์มีความรู้และประสบการณ์ในเรื่องที่สัมภาษณ์มากน้อยเพียงใด ผู้ให้การสัมภาษณ์มีความเหมาะสมในด้านวุฒิ ฐานะหน้าที่ และอาชีพมากน้อยเพียงใด การตั้งคำถามและคำตอบในแต่ละข้อตรงประเด็นหรือไม่ ลักษณะในการสัมภาษณ์แบบการสัมภาษณ์ในลักษณะใด มีการใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย ชัดเจน เหมาะสมเพียงใด
5. คำปราศรัย มีหลักในการวิจารณ์คือ มีสาระสำคัญและเหมาะสมกับโอกาสหรือไม่ โดยพิจารณาจากความสอดคล้องในด้านเนื้อเรื่อง เวลา และโอกาส พิจารณาสาระสำคัญและความคิดที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ฟัง ความเหมาะสมในการใช้ภาษา
6. คำบรรยาย มีหลักการในการวิจารณ์ คือ หัวข้อและเนื้อเรื่องมีความเหมาะสมกับสถานการณ์และผู้ฟังมากน้อยเพียงใด ความรู้และประสบการณ์ในเรื่องที่บรรยาย ประโยชน์ที่เกิดกับผู้ฟังและสังคมภาษาที่ใช้ในการบรรยายสามารถเข้าใจได้ง่าย ถูกต้องตามหลักการใช้ภาษาหรือไม่
7. คำกล่าวอภิปราย มีหลักในการวิจารณ์ คือ พิจารณาความชัดเจนของประเด็นปัญหาที่อภิปรายความน่าสนใจ ความสอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ คุณวุฒิและประสบการณ์ของผู้ร่วมอภิปราย การศึกษาค้นคว้า และรวบรวมข้อมูลมาใช้ในการชี้แจงประกอบ การรับฟังความคิดเห็นของผู้ร่วมอภิปราย การนำเสนอข้อคิดและแนวทางมีเหตุผลและมีข้อมูลหลักฐานสนับสนุนหรือไม่ การใช้ภาษามีความถูกต้องและเหมาะสม ผู้ฟังมีการเตรียมตัวและร่วมอภิปรายอย่างมีสาระหรือไม่
8. คำให้โอวาท มีหลักในการวิจารณ์ คือ ใครคือผู้ให้โอวาท มีคุณวุฒิและหน้าที่เหมาะสมในการให้โอวาทหรือ สาระสำคัญและข้อคิดที่ได้มีแนวทางปฏิบัติอย่างไร ความถูกต้องของเรื่องที่ให้โอวาทมีเหตุผลสอดคล้องตามหลักวิจารณ์หรือไม่ น่าเชื่อถือเพียงใด มีเทคนิคและกลวิธีในการพูดเพื่อโน้มน้าวจิตใจของผู้ฟังหรือไม่ การอ้างอิงคำถาม สำนวน สุภาษิต ยกเหตุการณ์ประกอบอย่างเหมาะสม มีการใช้ภาษาได้ดี ถูกต้องสละสลวย สร้างความประทับใจเพียงใด
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......55
กิจกรรมที่ 5 ให้นักศึกษาอธิบายมารยาทในการฟังและดูในโอกาสต่างๆ
1. การฟังและดูเฉพาะหน้าผู้ใหญ่ จะต้องสำรวมกิริยาอาการให้ความสนใจด้วยการสบตากับผู้พูด ไม่ควรชิงพูดก่อนที่คู่สนทนาจะพูดจบ ถ้ามีปัญหาข้อสงสัย ควรให้ผู้พูดจบกระแสความก่อนแล้วจึงถาม ไม่กระทำการใดอันจะเป็นการรบกวนผู้อื่น
2. การฟังและดูในที่ประชุม ผู้เข้าร่วมประชุมต้องให้ความเคารพต่อประธาน ตั้งใจฟังและดู หากมีสาระสำคัญก็อาจจดบันทึกไว้เพื่อจะได้นำไปปฏิบัติ หรือเป็นข้อมูลในการอภิปรายแสดงความคิดเห็นไม่ควรพูด หรือแสดงความไม่พอใจให้เห็น ควรฟังและดูจนจบแล้วจึงให้สัญญาณขออนุญาตพูดด้วยการยกมือ หรือขออนุญาต ไม่ควรทำธุระส่วนตัวหรือทำสิ่งอื่นใดที่จะเป็นการรบกวนที่ประชุม
3. การฟังและดูในที่สาธารณะ ขณะที่ฟังและดูไม่ควรกระทำการใดๆ ที่จะก่อความรำคาญ สร้างความวุ่นวายให้แก่บุคคลที่ชมหรือฟังร่วมอยู่ด้วย ไม่พูดคุยหรือกระทำการใดที่จะทำให้รบกวน
4. การฟังและดูในลานกว้าง ไม่ส่งเสียงดังรบกวนผู้ชม พร้อมแสดงกิริยาที่ไม่สมควร ไม่ดื่มของมึนเมาหรือแสดงกิริยาที่ไม่เหมาะสมกับเพื่อนต่างเพศ และขัดต่อวัฒนธรรมไทย ควรยืนหรือนั่งให้เรียบร้อย
กิจกรรมที่ 6 นักศึกษาสามารถนำความรู้จากการฟังและการดูไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไรบ้าง จงบอกมาอย่างน้อย 5 ประการ
1. ใช้ถ่ายทอดความรู้เรื่องราวด้วยการพูด การอ่านและการเขียน
2. ใช้ในการวิเคราะห์ วิจารณ์และแสดงความคิดเห็นในโอกาสต่างๆ
3. ใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน
4. ใช้ในการประกอบอาชีพ
5. ใช้ในการศึกษาเล่าเรียน
6. ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......56
กิจกรรมที่ 7 ให้นักศึกษาเขียนตัวอย่างความรู้ที่ได้จากการฟังและการดูที่สามารถนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตได้มา 1 เรื่อง และบอกให้ทราบด้วยว่านำไปใช้ได้อย่างไร
(พิจารณาความเหมาะสม)
เฉลยกิจกรรม บทที่ 2 การพูด
กิจกรรมที่ 8 ให้นักศึกษาอธิบายรายละเอียดตามหัวข้อที่กำหนดให้
1. มารยาทในการพูด มีดังนี้
1.1 ใช้คำสุภาพเหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล ให้เกียรติกับผู้ที่เราพูดด้วย รู้จักใช้คำที่แสดงถึงการมีมารยาท เช่น คำขอบคุณ ขอบใจ เมื่อผู้อื่นทำคุณต่อเรา และกล่าวขอโทษ ขออภัยเสียในโอกาสที่เรากระทำการล่วงเกินผู้อื่นได้รับทุกข์
1.2 ไม่พูดจาเยาะเย้ย ถากถาง ดูหมิ่นเหยียดหยาม เสียดสีผู้อื่น ไม่พูดจายกตนข่มท่าน พูดชี้จุดบกพร่อง หรือปมด้อยของผู้อื่นให้เกิดความอับอาย
1.3 ไม่ผูกขาดการพูดและความคิดแต่เพียงผู้เดียว ให้โอกาสผู้อื่นได้พูดบ้าง ไม่พูดตัดบทในระหว่างผู้อื่นกำลังพูด ควรคอยให้ผู้อื่นพูดจนหมดกระบวนความแล้วจึงพูดต่อ
1.4 เมื่อจะพูดคัดค้านหรือโต้แย้ง ควรจะเหมาะสมกับโอกาสและมีเหตุผมเพียงพอ ไม่ใช้อารมณ์ ใช้
คำพูดที่นุ่มนวล ไม่ให้เสียบรรยากาศของการพูดคุยกัน
1.5 การพูดเพื่อสร้างบรรยากาศ ให้เกิดอารมณ์ขัน ควรจะเป็นเรื่องตลกขบขันที่สุภาพ ไม่หยาบโลน
หรือพูดลักษณะสองแง่สองง่าม
1.6 ไม่พูดติเตียน กล่าวหาหรือนินทาผู้อื่นต่อหน้าชุมชน หรือในขณะที่ผู้ที่เราพูดถึงไม่ได้อยู่ด้วย
1.7 ควรพูดด้วยน้ำเสียงนุ่มนวลชวนฟัง ไม่ใช้น้ำเสียงห้วนๆ หรือดุดันวางอำนาจเหนือผู้ฟัง รู้จักใช้คำ
ค่ะ ครับ นะคะ นะครับ หน่อย เถิด จ๊ะ นะ เสริมการพูดให้สุภาพไพเราะน่าฟัง
2. คุณธรรมในการพูด มีดังนี้
2.1 ความรับผิดชอบในการพูด ผู้พูดจะต้องรับผิดชอบต่อการพูดของตนทั้งในด้านกฎหมายและศีลธรรม รับผิดชอบทางกฎหมายนั้นก็คือ หากพูดโดยขาดความรับผิดชอบมีความผิดตามกฎหมาย จะต้องรับโทษตามกฎหมาย ในด้านศีลธรรมหรือคุณธรรม หากพูดแล้วทำให้ผู้อื่นเสียใจ ไม่สบายใจเกิดความเสียหายไม่ถึงกับผิดกฎหมายบ้านเมือง แต่เป็นสิ่งไม่เหมาะ ไม่ควรเช่น การพูดส่อเสียด พูดคำหยาบ พูดเพ้อเจ้อ พูดให้ผู้อื่นถูกตำหนิเหล่านี้ ผู้พูดต้องรับผิดชอบ ต้องไม่ปฏิเสธในคำพูดของตน ต้องตระหนักและรับผิดชอบในการพูดทุกครั้ง ....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......57
2.2 ความจริงใจและบริสุทธิ์ใจ ผู้พูดต้องมีความจริงใจในการพูดด้วยการแสดงออกทางสีหน้า แววตา อากัปกิริยา น้ำเสียงและคำพูดให้ตรงกับความรู้สึกที่มีอยู่ในจิตใจอย่างแท้จริง ไม่เสแสร้งแกล้งทำ พูดด้วยความบริสุทธิ์ใจ คือการพูดด้วยความปรารถนาดีที่จะให้เกิดผลดีต่อผู้ฟัง ไม่พูดเพื่อให้เขาเกิดความเดือดร้อนเสียหาย ในการพูดควรพิจารณาถึงผลดี ผลเสีย กาลเทศะ อะไรควรพูด อะไรไม่ควรพูดเป็นสิ่งสำคัญ
3. ลักษณะการพูดที่ดี มีดังนี้
3.1 ต้องมีเนื้อหาดี น่าสนใจ ให้ประโยชน์ต่อผู้ฟัง เป็นเนื้อหาที่ตรงตามจุดมุ่งหมายของผู้พูด หากผู้พูดมีจุดมุ่งหมายในการพูดเพื่อจะให้ผู้ฟังได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพอนามัย เนื้อหาก็จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย เนื้อหาที่ดีต้องตามจุดมุ่งหมายของผู้พูด ผู้พูดมีจุดมุ่งหมายการพูดเพื่ออะไร เพื่อความรู้ ความคิด เพื่อความบันเทิง เพื่อจูงใจ โน้มน้าวใจ เนื้อหาจะต้องตรงตามเจตนารมณ์ของผู้พูดและเนื้อหานั้นต้องมีความยากง่ายเหมากับผู้ฟัง มีการลำดับเหตุการณ์ ความคิดที่ดีมีระเบียบความคิดหรือสิ่งที่ต้องการถ่ายทอดให้
3.2 ต้องมีวิธีการถ่ายทอดดี ผู้พูดจะต้องมีวิธีการถ่ายทอดความรู้ ความคิดหรือสิ่งที่ต้องการถ่ายทอดให้ผู้ฟังเข้าใจง่าย เกิดความเชื่อถือ และประทับใจ ผู้พูดต้องมีศิลปะในการใช้ถ้อยคำภาษาและการใช้น้ำเสียง มีการแสดงกิริยาท่าทางประกอบในการพูดแสดงออกทางสีหน้า แววตาได้อย่างสอดคล้องเหมาะสม การพูดจึงจะเกิดประสิทธิผล
3.3 มีบุคลิกภาพดี ผู้พูดจะต้องแสดงออกทางการและทางใจเหมาะสมกับโอกาสของการพูด อันประกอบด้วย รปร่างหน้าตา ซึ่งเราไม่สามารถที่จะปรับเปลี่ยนอะไรได้มากนัก แต่ก็ต้องทำให้ดูดีที่สุด การแต่งกายและกริยาท่าทาง ในส่วนนี้เราสามารถที่จะสร้างภาพให้ดีได้ไม่ยาก จึงเป็นส่วนที่จะช่วยในการสร้างบุคลิกภาพที่ดีได้มาก ส่วนทางจิตใจนั้นเราต้องสร้างความเชื่อมั่นในตัวเองให้สูง มีความจริงใจและมีความคิดริเริ่ม ผู้พูดที่มีบุคลิกภาพที่ดี จึงดึงดูดใจให้ผู้ฟังเชื่อมั่น ศรัทธาและประทับใจได้ง่าย การสร้างบุคลิกภาพที่ดีเป็นคุณลักษณะสำคัญอย่างหนึ่งของการพูด
กิจกรรมที่ 9 ให้นักศึกษาสังเกตการพูดของนักพูดที่ถ่ายทอดผ่านวิทยุ โทรทัศน์ แล้วสรุปข้อดี ข้อเสีย พร้อมเสนอแนวทางในการแก้ไข พร้อมบันทึกรายละเอียดตามข้อมูลที่ได้ศึกษา
ให้นักศึกษาบันทึกรายละเอียดตามความเป็นจริง ตามหัวข้อที่กำหนดให้ โดยในส่วนของการวิเคราะห์ข้อดี ข้อเสียและแนวทางแก้ไข ให้วิเคราะห์โดยศึกษาหลักในการพูดที่ดี คุณธรรมในการพูด ตลอดจนมารยาทในการพูด
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......58
กิจกรรมที่ 10 หากนักศึกษาได้รับหน้าที่ในการสัมภาษณ์ ภูมิปัญญาที่ได้รับความสำเร็จในการประกอบอาชีพ นักศึกษามีการเตรียมความพร้อมอย่างไร
การเตรียมความพร้อมในการสัมภาษณ์บุคคล มีดังนี้
1. ต้องมีการติดต่อประสานงาน นัดหมายกับผู้ให้สัมภาษณ์ไว้ล่วงหน้า พร้อมทั้งกำหนดวัน เวลาที่จะ
สัมภาษณ์และบอกจุดประสงค์ของการสัมภาษณ์ เพื่อผู้ที่ให้สัมภาษณ์จะได้เตรียมตัวได้อย่างถูกต้อง
2. เมื่อประสานงานแล้ว ผู้สัมภาษณ์ควรเตรียมตัวตั้งแนวคำถามที่จะไปสัมภาษณ์ไว้เป็นประเด็นๆ ตาม
วัตถุประสงค์ที่วางไว้
3. ศึกษาเรื่องที่จะสัมภาษณ์ให้เข้าใจ
4. เมื่อไปพบผู้ให้สัมภาษณ์ ควรแต่งกายให้เรียบร้อยและแสดงความเคารพนอบน้อม ในขณะ
สัมภาษณ์ต้องตั้งคำถามให้ชัดเจน เข้าใจง่าย ใช้ภาษาสุภาพ
5. ควรเตรียมการบันทึกภาพ เสียง และข้อความ เตรียมอุปกรณ์เครื่องมือให้เรียบร้อยก่อน เพื่อให้การ
บันทึกสมบูรณ์ไม่ผิดพลาด
6. รักษาเวลานัดหมาย เวลาขณะสัมภาษณ์ให้เป็นไปตามที่กำหนดนัดหมายไว้ อย่าได้ถามนอก
ประเด็นและอย่ายืดเยื้อโดยไม่จำเป็น
กิจกรรมที่ 11 ให้นักศึกษาอธิบายแนวทางในการพูดแสดงความคิดเห็น พร้อมประโยชน์ที่ได้รับในการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
1. แนวทางในการพูดแสดงความคิดเห็น
1.1 พูดแสดงความคิดเห็นหรืออภิปรายอย่างมีเหตุผล ยอมรับฟังความคิดเห็นของบุคคลอื่น พูดด้วยใจ
เป็นกลาง ไม่ใช้อารมณ์และความขัดแย้งส่วนตัวกับผู้เข้าร่วมประชุมมาเกี่ยวข้องกับการพูดและ
แสดงความคิดเห็นในที่ประชุม
1.2 เข้าประชุมในตรงเวลาและรักษาเวลาในการพูด ตามที่ประธานกำหนดให้
1.3 พูดให้ได้ใจความ กระชับ และกำกับความคิดให้เป็นไปตามขั้นตอน มีการโยงความคิด เห็นด้วย
หรือขัดแย้งให้สัมพันธ์ต่อเนื่องและสอดคล้อง ไม่ควรพูดกวนจนจับประเด็นไม่ได้
1.4 ไม่ควรผูกขาดการพูดแต่ผู้เดียว หรือแสดงความคิดเห็นในตนเองเพื่อแสดงความรอบรู้ เมื่อเห็นว่า
ประเด็นใดที่มีแนวทางที่ดีและถูกต้องแล้วก็ควรงดเว้นการแสดงความคิดเห็น มิฉะนั้นจะทำให้
ผู้เข้าร่วมประชุมเกิดความเบื่อหน่าย
1.5 ควรรักษามารยาทในการพูดในที่ประชุม อย่างเช่น ใช้ภาษาสุภาพ ไม่พูดก้าวร้าว มีการขออนุญาต
ต่อประธานเมื่อต้องการพูด ไม่แสดงกิริยาที่ไม่สุภาพในที่ประชุม เป็นต้น
2. ประโยชน์ที่ได้รับในการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน คือ การพูดแสดงความคิดเห็นเป็นลักษณะการพูดที่ใช้ในการปรึกษาหารือกันในกลุ่มย่อย เพื่อหาแนวทางในการแก้ปัญหา เช่น ปัญหาการเรียน ปัญหาในการดำเนินชีวิต ปัญหาของชุมชน ....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......59
กิจกรรมที่ 12 ให้นักศึกษาหาโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมในการพูด เพื่อฝึกทักษะและมีประสบการณ์ตรงในการพูด พร้อมบันทึกรายละเอียดในการเข้าร่วมกิจกรรม
1. กิจกรรมการพูดที่เข้าร่วม คือ
2. การเตรียมพร้อมก่อนเข้าร่วมกิจกรรม
3. บันทึกรายละเอียดในกาเข้าร่วมกิจกรรม
3.1 วัน/เดือน/ปี ที่เข้าร่วมกิจกรรม
3.2 สถานที่
3.3 หัวข้อ
3.4 ผู้เข้าร่วมกิจกรรม
3.5 บทบาทที่เข้าร่วมกิจกรรม
3.6 สรุปรายละเอียดและผลในการเข้าร่วมกิจกรรม
3.7 สรุปประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรม
เฉลยกิจกรรม บทที่ 3 การอ่าน
กิจกรรมที่ 13 ให้นักศึกษาอธิบายรายละเอียดในหัวข้อที่กำหนดให้
1. ความสำคัญของการอ่าน
1.1 การอ่านช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต ทำให้ผู้อ่านได้รับสาระความรู้เพิ่มขึ้น เป็นคนทันสมัย ทัน
เหตุการณ์และความเคลื่อนไหวของเหตุการณ์บ้านเมือง ตลอดจนสังคมและวิทยาการใหม่ๆ ผู้อ่าน
เมื่อได้รับความรู้จากการอ่านแล้ว จะสามารถนำสาระต่างๆ มาสร้างสรรค์ให้เกิดประโยชน์ต่อชีวิต
สังคมและประเทศชาติในโอกาสต่อไปได้
1.2 การอ่านช่วยให้เกิดความเพลิดเพลิน หนังสือหลายประเภทนอกจากจะให้ความรู้ ความคิดแล้วยังให้
ความเพลิดเพลินอีกด้วย ผู้อ่านหนังสือจะได้รับความเพลิดเพลิน ได้รับความสุข อีกทั้งยังสร้างความ
ฝัน จิตนาการแก่ผู้อ่าน ตลอดจนเป็นการพักผ่อนและคลายเครียดได้เป็นอย่างดี
1.3 การอ่านมีผลต่อการดำเนินชีวิตที่สุขสมบูรณ์ของมนุษย์ ผลที่ได้รับจากการอ่าน นอกจากจะเป็น
พื้นฐานของการศึกษา ศิลปะวิทยาการ และช่วยในการพัฒนาอาชีพแล้ว ยังมีผลช่วยให้ผู้อ่านได้
แนวคิดและประสบการณ์จำลองจากการอ่านอีกด้วย ซึ่งความคิดและประสบการณ์จะทำให้ผู้อ่าน
ได้แนวคิดและประสบการณ์จำลองจากการอ่านอีกด้วย ซึ่งความคิดและประสบการณ์จะทำให้ผู้อ่าน
มีโลกทัศน์กว้างขึ้น เข้าใจตนเอง เข้าใจผู้อื่น และเข้าใจสังคมเป็นอย่างดี อันจะมีผลต่อการดำเนิน
ชีวิตและการดำรงตนอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......60
2. วิจารณญาณในการอ่าน หมายถึง การรับสารจากการอ่านให้เข้าใจเนื้อหาสาระแล้ว ใช้สติปัญญาใคร่ครวญหรือไตร่ตรอง โดยอาศัยความรู้ ความคิด ประสบการณ์มาเป็นเหตุผลประกอบและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
3. ขั้นตอนของการใช้วิจารณญาณในการอ่าน
3.1 อ่านให้เข้าใจตลอดเรื่อง เป็นการอ่านสารด้วยความตั้งใจให้เข้าใจรายละเอียดตลอดเรื่อง
3.2 วิเคราะห์เรื่อง เมื่ออ่านและเข้าใจเรื่องแล้วจะต้องนำมาวิเคราะห์สาระสำคัญให้รู้เรื่องที่อ่านเป็นเรื่อง
ประเภทใด อะไรเป็นข้อเท็จจริง อะไรเป็นข้อคิดเห็นและอะไรเป็นประโยชน์ ลักษณะของตัวละคร
เป็นอย่างไรเป็นเรื่องประเภทร้อยแก้ว ร้อยกรอง บทความ ข่าว หรือละคร ฯลฯ ผู้เขียนมีเจตนา
อย่างไรในการเขียนเรื่องนี้ ใช้กลวิธีในการนำเสนออย่างไร ซึ่งผู้อ่านต้องพิจารณาแยกแยะให้ได้
3.3 ประเมินค่าของเรื่อง เมื่ออ่านและวิเคราะห์แยกแยะเรื่องแล้วนำมาประเมินค่าว่าสิ่งใดเท็จ สิ่งใดจริง
สิ่งใดมีค่าไม่มีค่า มีประโยชน์ในด้านใด นำไปใช้กับใครเมื่อไรและอย่างไร
3.4 นำเรื่องที่อ่านไปใช้ หลังจากผ่านขั้นตอนของการอ่าน ทำความเข้าใจ วิเคราะห์และประเมินค่าแล้ว
ต้องนำไปใช้ได้ทั้งในการถ่ายทอดให้ผู้อื่น และนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสมกับ
กาลเทศะและบุคคล
4. หลักการใช้วิจารณญาณในการอ่าน
4.1 พิจารณาความถูกต้องของภาษาที่อ่าน เช่น ด้านความหมาย การวางตำแหน่งคำ การเว้นวรรคตอน
ความผิดพลาดดังกล่าวจะทำให้การสื่อความหมายเสียไป
4.2 พิจารณาความต่อเนื่องของประโยคว่ามีเหตุผลรับกันดีหรือไม่ โดยอาศัยความรู้ด้านตรรกวิทยาเข้า
ช่วยข้อความ ข้อความจากประโยคจะต้องไม่ขัดแย้งกัน หรือเรียงลำดับไม่สับสนวุ่นวายจนอ่านไม่รู้
เรื่องหรืออ่านเสียเวลาเปล่า
4.3 พิจารณาดูความต่อเนื่องของเรื่องราวระหว่างเรื่องที่เป็นแกนหลักหรือแกนนำกับแกนรอง และ
ส่วนประกอบอื่นๆ กลมกลืนกันดีหรือเปล่า
4.4 รู้จักแยกแยะข้อเท็จจริงออกจากเรื่องการแสดงความรู้ และข้อคิดเห็นของผู้แต่ง เพื่อจะได้พิจารณา
ภายหลังได้ถูกต้องใกล้เคียง ความเป็นจริงยิ่งขึ้น
4.5 พิจารณาความรู้ เนื้อหา ตัวอย่างที่ได้ ว่ามีส่วนสัมพันธ์กันอย่างเหมาะสมหรือไม่เพียงใด เป็นความรู้
ความคิด ตัวอย่างที่แปลกใหม่หรืออ้างอิงมาจากไหน น่าสนใจเพียงใด จากนั้นควรทำการ
ประเมินผลโดยทั่วไปว่าผลจากการอ่านจะทำให้เกิดความรู้ ความคิดมากน้อยเพียงใด โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งความคิดสร้างสรรค์ที่ผู้อ่านประสงค์หรือปรารถนาจะได้จากการอ่านนั้นๆ อยู่เสมอ
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......61
5. การอ่านตีความ หมายถึง การแปลเรื่องราวเดิมให้ออกมาเป็นคำใหม่ ภาษาใหม่หรือแบบใหม่ โดยยังคงรักษาเนื้อหาและความสำคัญของเรื่องราวเดิมไว้ครบถ้วน
ข้อปฏิบัติในการอ่านตีความ ดังนี้
(1) อ่านเรื่องให้ละเอียดแล้ว พยายามจับประเด็นสำคัญของข้อเขียนให้ได้
(2) ขณะอ่านพยายามคิดหาเหตุผล และใคร่ครวญอย่างรอบคอบ แล้วนำมาประมวลเข้ากับความคิดของตนว่าข้อความนั้นๆ หมายถึงสิ่งใด
(3) พยายามทำความเข้าใจกับถ้อยคำบางคำที่เห็นว่ามีความสำคัญรวมทั้งสภาพแวดล้อมหรือบริบทเพื่อกำหนดความหมายให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
(4) การเรียบเรียงถ้อยคำที่ได้มาจากการตีความ จะต้องมีความหมายชัดเจน
(5) พึงระลึกว่าการตีความ มิใช่การถอดคำประพันธ์ ซึ่งต้องเก็บความหมายของบทประพันธ์นั้นๆ มาเรียบเรียงเป็นร้อยแก้วให้ครบทั้งคำ และข้อความ การตีความนั้นเป็นการจับเอาแต่ใจความสำคัญ การตีความจะต้องใช้ความรู้ ความคิดมีเหตุผลเป็นประการสำคัญ
6. การอ่านขยายความ หมายถึง การอธิบายเพิ่มเติมให้ละเอียดขึ้นภายหลังจากได้ตีความแล้ว ซึ่งอาจใช้วิธียกตัวอย่างประกอบหรือมีการอ้างอิงเปรียบเทียบเนื้อความให้กว้างขวางออกไปจนเป็นที่เข้าใจชัดเจนยิ่งขึ้น
7. การอ่านจับใจความหรือสรุปความ หมายถึง การอ่านที่มุ่งค้นหาสาระของเรื่อง หรือของหนังแต่ละเล่มที่เป็นส่วนใจความสำคัญและส่วนขยายใจความสำคัญของเรื่อง
กิจกรรมที่ 14 ให้นักศึกษาอ่านโคลงสี่สุภาพที่กำหนด พร้อมเรียบเรียงเนื้อหาเป็นร้อยแก้วที่สละสลวย และสรุปสาระในส่วนของข้อคิดที่ผู้แต่งต้องการนำเสนอ
1. ห้ามเพลิงไว้อย่าให้ มีควัน
ห้ามสุริยแสงจันทร์ ส่องไซร้
ห้ามอายุให้ทัน คืนเล่า
ห้ามดั่งนี้ไว้ได้ จึงห้ามนินทา
1.1 การแปลความ “หากความสามารถห้ามไฟที่ลุกไหม้ไม่ให้มีควัน ห้ามดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ไม่ให้ส่องแสง หรือการทำให้อายุของคนย้อนกลับไปน้อยกว่าความเป็นจริงได้ จึงค่อยคิดห้ามการนินทาว่าร้ายที่เกิดขึ้นในสังคม”
1.2 ข้อคิดที่ได้รับ “การนินทาเป็นเรื่องธรรมดาของโลก เราไม่สามารถห้ามผู้อื่นไม่ให้พูดได้ เมื่อใดที่ถูกนินทาต้องทำใจไม่ให้หวั่นไหวไปกับคำพูดเหล่านั้น”
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......62
2. “โทษท่านผู้อื่นเพี้ยง เมล็ดงา
ปองติฉันนินทา ท่อนเว้น
โทษตนเท่าภูผา หนักยิ่ง
ป้องปิดคิดซ่อนเร้น เรื่องร้ายหายสูญ”
2.1 การแปลความ “เมื่อผู้อื่นกระทำความผิด แม้จะเป็นความคิดเล็กๆ น้อยๆ ก็จะตำหนิติเตียนการกระทำที่ผิดนั้นโดยไม่ละเว้น แต่เมื่อใดที่เป็นความผิดของตนเอง ทั้งที่เป็นความผิดที่ร้ายแรง กลับพยายามที่จะปิดบังไม่ให้ใครรู้ ทำเหมือนไม่เคยกระทำความผิดมาก่อน”
2.2 ข้อคิดที่ได้รับ “ความคิดของผู้อื่นมักมองเห็นได้ง่ายกว่าความผิดของตนเอง”
กิจกรรมที่ 15 ให้นักศึกษาเลือกอ่านนวนิยาย 1 เรื่อง พร้อมสรุปสาระสำคัญตามหลักการอ่าน และพิจารณานวนิยายในหัวข้อต่างๆ ที่กำหนด
เมื่อนักศึกษาเลือกและอ่านนวนิยายแล้ว ให้สรุปสาระสำคัญและพิจารณานวนิยายตามหัวข้อที่กำหนดให้
กิจกรรมที่ 16 ให้นักศึกษาอ่านวรรณคดีไทย 1 เรื่อง พร้อมบอกคุณค่าที่ได้รับจากการอ่านในด้านต่างๆ ที่กำหนด อย่างน้อย 5 ด้าน พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
เมื่อนักศึกษาอ่านวรรณคดีแล้ว ให้สรุปสาระสำคัญตามหัวข้อที่กำหนด
กิจกรรมที่ 17 ให้นักศึกษาอ่านคำประพันธ์เรื่อง ดอกจำปาของตาพลอย และวิจารณ์ถึงคุณค่าด้านเนื้อหาสาระ และกลวิธีใช้ในการนำเสนอ
คุณค่าด้านเนื้อหาสาระและกลวิธีในการนำเสนอ
กลอนสุภาพทั้ง 7 บทนี้ เนื้อหาเป็นเรื่องราวในวัยเด็กของผู้เขียนเล่าถึงการตามคุณยายไปฟังเทศน์เพราะอยากได้ดอกไม้ คอ ดอกจำปา ครั้งไปฟังเทศน์บ่อยเข้า ทำให้เข้าใจคำสอนต่างๆ จึงเจริญเติบโตขึ้นมาเป็นคนดี นับได้ว่าดอกจำปาเป็นดอกไม้ที่มีคุณค่าต่อชีวิต
บทร้อยกรองเรื่องนี้ ในแง่วรรณศิลป์จะเห็นว่าใช้ถ้อยคำง่ายๆในการนำเสนอ อ่านเข้าใจดี การลำดับเนื้อเรื่องเรียงลำดับไม่สับสน เมื่อวิเคราะห์เนื้อหาพบว่ากล่าวถึงความดีของรสพระธรรมคำสอน และให้ข้อเตือนใจแก่ผู้อ่าน คือไม่ให้มองข้ามสิ่งเล็กๆน้อยๆ ที่ช่วยให้เราได้รับผลตอบแทนในทางที่ดีงาม
บทร้อยกรองลักษณะนี้จึงวิจารณ์โดยสรุปได้ว่าดีพร้อมทั้งจินตนาการภาพคิดและเนื้อหาสาระ เตือนใจ นับว่ามีคุณค่าต่อผู้อ่านเป็นอย่างมาก
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......63
กิจกรรมที่ 18 ให้นักศึกษาอธิบายรายละเอียดตามหัวข้อที่กำหนดให้
1. ภาษาถิ่น หมายถึง ภาษาที่ใช้สื่อความหมายตามท้องถิ่นต่างๆ ซึ่งจะแตกต่างกันในถ้อยคำ สำเนียงแต่ก็สามารถจะติดต่อสื่อสารกันได้ และถือว่าเป็นภาษาเดียวกัน เพียงแต่แตกต่างกันตามท้องถิ่น เท่านั้น
ภาษาถิ่น บางทีมักจะเรียกกันว่า ภาษาพื้นเมืองทั้งนี้เพราะไม่ได้ใช้เป็นภาษามาตรฐานหรือภาษากลางของประเทศ
2. สาเหตุที่ทำให้เกิดภาษาถิ่น
ภาษาถิ่น เกิดจากสาเหตุ 3 ประการ คือ
2.1 การย้ายถิ่นฐาน เมื่อกลุ่มชนที่ใช้ภาษาเดียวกันย้ายถิ่นฐานไปตั้งแหล่งใหม่ เนื่องจากเกิดภัยธรรมชาติ มีการรุกรานของศัตรู เมื่อแยกย้ายไปอยู่คนละถิ่นนานๆ ภาษาที่ใช้จะค่อยเปลี่ยนแปลงไปเช่น เสียงเปลี่ยนไป คำและความหมายเปลี่ยนไป ทำให้เกิดภาษาถิ่นขึ้น
2.2 สภาพภูมิประเทศ กลุ่มชนที่แยกย้ายกันไปอาศัยในท้องถิ่นต่างๆ มีสภาพภูมิประเทศแตกต่างกัน ทำให้การติดต่อสื่อสารยากลำบาก หรือขาดการติดต่อระหว่างกัน ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการดำเนินชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ ทำให้ภาษาที่ใช้ในแต่ละท้องถิ่นมีการเปลี่ยนแปลงเช่นกัน
2.3 การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม เป็นสาเหตุให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางภาษาและเกิดภาษาถิ่นขึ้น เช่น การติดต่อค้าขาย การเผยแพร่ศาสนา การแต่งงานระหว่างคนต่างท้องถิ่น
3. คุณค่าและความสำคัญของภาษาถิ่น
3.1 ภาษาถิ่นเป็นวัฒนธรรมทางภาษาและเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละท้องถิ่น
3.2 ภาษถิ่นเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้สื่อสารทำความเข้าใจและแสงความเป็นญาติ เป็นพวกเดียวกันของเจ้าของภาษา
3.3 ภาษาถิ่นต้นกำเนิดและเป็นส่วนหนึ่งของภาษาไทยและวรรณคดีไทย การศึกษาภาษาถิ่นจะช่วยให้การสื่อสารและการศึกษาวรรณคดีได้เข้าใจลึกซึ้งยิ่งขึ้น
3.4 การศึกษาและการใช้ภาษาถิ่น จะช่วยให้การสื่อสารได้มีประสิทธิภาพและสร้างความเป็นหนึ่งของคนในชาติ
กิจกรรมที่ 19 ให้นักศึกษาอธิบายความหมายของ สำนวน สุภาษิต ที่กำหนดให้
1. ทำนาบนหลังคน หมายถึง การเอารัดเอาเปรียบบนความเดือดร้อนของผู้อื่น
2. ชิงสุกก่อนห่าม หมายถึง การด่วนทำทั้งๆที่ยังไม่ถึงวัยอันควร
3. คบเลือกนาย หมายถึง เป็นคนช่างเลือกจนโดนดี
4. ทำบุญเอาหน้า ภาวนากันตาย หมายถึง ทำอะไรเพื่อเอาหน้า ไม่ได้ทำด้วยใจจริง
5. ฝนทั่งให้เป็นเข็ม หมายถึง เพียรพยายามอย่างสุดความสามารถจนกว่าจะประสบความสำเร็จ
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......64
กิจกรรมที่ 20 ให้นักศึกษาเลือกอ่านวรรณคดีท้องถิ่น 1 เรื่อง และอธิบายคุณค่าที่ได้รับจากการอ่าน
เมื่อนักศึกษาอ่านวรรณคดีท้องถิ่นจบแล้ว ให้สรุปและวิเคราะห์สาเหตุต่างๆ ที่ได้จากการอ่านตามหัวข้อที่กำหนดให้
กิจกรรมที่ 21 ให้นักศึกษาอธิบายมารยาทในการอ่าน และการปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน
1. มารยาทในการอ่าน มีดังนี้
1.1 ไม่ควรอ่านเรื่องที่เป็นส่วนตัวของบุคคลอื่น เช่น จดหมาย สมุดบันทึก
1.2 ในขณะที่มีผู้อ่านหนังสือ ไม่ควรชะโงกไปอ่านข้างหลังให้เป็นที่รำคาญและไม่ควรแย่งอ่าน
1.3 ไม่อ่านออกเสียงดังในขณะที่ผู้อื่นต้องการความสงบ
1.4 ไม่แกล้งอ่านเพื่อล้อเลียนบุคคลอื่น
1.5 ไม่ควรถือวิสาสะหยิบหนังสืออื่นมาอ่านโดยไม่ได้รับอนุญาต
1.6 ไม่อ่านหนังสือเมื่ออยู่ในวงสนทนาหรือมีการประชุม
1.7 เมื่ออ่านหนังสือในหองสมุดหรือสถานที่ซึ่งจัดไว้ให้อ่านหนังสือโดยเฉพาะ ไม่ส่งเสียงดัง ควรปฏิบัติตามระเบียบกฎเกณฑ์ของสถานที่เหล่านั้นอย่างเคร่งครัด
2. การปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน มีดังนี้
2.1 ต้องทำความเข้าใจกับเรื่องที่อ่านให้ชัดเจนแจ่มแจ้ง จับใจความเรื่องที่อ่านได้ตลอดทั้งเรื่อง และต้องเข้าใจเนื้อหาให้ถูกต้องด้วย
2.2 ให้ได้รับรสชาติจากการอ่าน เช่น เกิดความซาบซึ้งตามเนื้อเรื่อง หรือสำนวนจากการประพันธ์นั้นๆ เกิดอารมณ์ร่วม เห็นภาพพจน์ตามผู้ประพันธ์
2.3 เห็นคุณค่าของเรื่องที่อ่าน เกิดความสนใจใคร่ติดตาม ดังนั้นการเลือกอ่านในสิ่งที่สนใจก็เป็นเหตุผลหนึ่งด้วย
2.4 รู้จักนำสิ่งที่เป็นประโยชน์จากหนังสือไปใช้เหมาะกับตนเอง
2.5 รู้จักเลือกหนังสือที่อ่านได้เหมาะสมตามความต้องการและโอกาส คุณสมบัติเหล่านี้เป็นเบื้องต้นที่จะปลูกฝังให้รักการอ่าน
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......65
เฉลยกิจกรรม บทที่ 4 การเขียน
กิจกรรมที่ 22 ให้นักศึกษาอธิบายรายละเอียดตามหัวข้อที่กำหนดให้
1. การเขียน หมายถึง การแสดงความรู้ ความคิด อารมณ์ความรู้สึกและความต้องการของผู้ส่งออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อให้ผู้รับสารอ่านเข้าใจได้รับรู้ ความคิด อารมณ์ ความรู้สึกและความต้องการต่างๆเหล่านี้
2. หลักการเขียนที่ดี มีดังนี้
2.1 เขียนตัวหนังสือชัดเจน อ่านง่าย เป็นระเบียบ
2.2 เขียนได้ถูกต้องตามอักขรวิธี สะกดการันต์ วรรณยุกต์ วางรูเครื่องหมายต่างๆ เว้นวรรคตอนได้
ถูกต้อง เพื่อจะสื่อสารความหมายได้ตรงและชัดเจน ช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจสารได้ดี
2.3 เลือกใช้ถ้อยคำได้เหมาะสม สื่อความหมายได้ดี กะทัดรัด ชัดเจนเหมาะสมกับเนื้อหา เพศ วัย และ
ระดับของผู้อ่าน
2.4 เลือกใช้สำนวนภาษาได้ไพเราะเหมาะสมกับความรู้ ความคิด อารมณ์ ความรู้สึกที่ต้องการถ่ายทอด
2.5 ใช้ภาษาเขียนไม่ควรใช้ภาษาพูด ภาษาโฆษณาหรือภาษาที่ไม่ได้มาตรฐาน
2.6 เขียนได้ถูกต้องตามรูปแบบและหลักเกณฑ์ของงานเขียนแต่ละประเภท
2.7 เขียนในสิ่งสร้างสรรค์ ไม่เขียนในสิ่งที่จะสร้างความเสียหายหรือความเดือดร้อนให้แก่บุคคล และสังคม
กิจกรรมที่ 23 ให้นักศึกษาอธิบายคำศัพท์ที่ใช้ในการประชุม
1. ผู้เข้าประชุม
หมายถึง ผู้ที่ได้รับเชิญหรือได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้มีสิทธิเข้าประชุม เพื่อทำหน้าที่ต่างๆ เช่น ทำหน้าที่เป็นผู้นำการประชุม เป็นผู้เสนอความคิดเห็นต่อที่ประชุม เป็นผู้จดบันทึกการประชุม เป็นต้น
2. วาระ
หมายถึง เรื่องหรือหัวข้อหรือประเด็นปัญหาต่างๆ ที่ต้องหาคำตอบ หาข้อยุติหรือวิธีแก้ไข โดยจัดลำดับเรื่องตามความเหมาะสม
3. ข้อเสนอ
ในการประชุมถ้าขอให้ที่ประชุมพิจารณาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง มีศัพท์เฉพาะเพื่อใช้บอกความประสงค์ว่า เสนอและเรียกเรื่องที่เสนอว่า ข้อเสนอ
4. สนับสนุน
คัดค้าน อภิปราย ข้อสนเอที่มีผู้เสนอต่อที่ประชุมนั้น ผู้เข้าประชุมมีสิทธิเห็นด้วยก็ได้ ถ้าเห็นด้วยเรียกว่า สนับสนุน ไม่เห็นด้วยเรียกว่า คัดค้าน การแสดงความคิดเห็น เพื่อสนับสนุนหรือคัดค้านข้อเสนอเรียกว่า การอภิปรายให้ตรงประเด็น และมีเหตุผลสนับสนุนอย่างชัดเจน
5. มติ
คือ ข้อตัดสินใจของที่ประชุมเพื่อนำไปปฏิบัติ เรียกว่า มติที่ประชุม ....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......66
กิจกรรมที่ 24 ให้นักศึกษาอธิบายขันตอนการเขียนรายงานโดยสรุป
ขั้นตอนการเขียนรายงาน มีดังนี้
1. เลือกเรื่องหรือประเด็นที่จะเขียน ซึ่งเป็นเรื่องที่ตนสนใจ กำลังเป็นที่กล่าวถึงในขณะนั้น เรื่องแปลกใหม่ น่าสนใจจะได้รับความสนใจมากขึ้น
2. กำหนดขอบเขตที่จะเขียนไม่กว้างหรือแคบจนเกินไป สามารถจัดทำได้ในเวลาที่กำหนด
3. ศึกษาค้นคว้าและเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างเพียงพอทั้งจากเอกสาร การสัมภาษณ์ การสังเกต หรือจากสื่อมวลชนต่างๆ เป็นต้น
4. บันทึกข้อมูลที่ได้พร้อมแหล่งที่มาของข้อมูลอย่างละเอียด โดยจดบันทึกลงในบัตรหรือสมุดบันทึกทั้งนี้เพื่อนำมาเขียนเชิงอรรถและบรรณานุกรมในภายหลัง
5. เขียนโครงเรื่องอย่างละเอียด โดยลำดับหัวข้อต่างๆ อย่างเหมาะสม
6. เรียบเรียงเป็นรายงานที่เหมาะสม โดยมีรูปแบบของรายงานที่สำคัญ 3 ส่วนคือ
6.1 ส่วนประกอบตอนต้น
6.1.1หน้าปกรายงาน
6.1.2 คำนำ
6.1.3สารบัญ
6.1.4บัญชีตาราง หรือภาพประกอบ (ถ้ามี)
6.2 ส่วนเนื้อเรื่อง
6.2.1 ส่วนที่เป็นเนื้อหา
6.2.2 ส่วนประกอบในเนื้อหา
6.3 ส่วนประกอบตอนท้าย
6.3.1 บรรณานุกรม Bibliography
6.3.2 ภาคผนวกหรืออภิธานศัพท์ (ถ้ามี)
กิจกรรมที่ 25 ให้นักศึกษาเลือกหัวข้อที่กำหนดให้ 1 หัวข้อ แล้วจัดทำรายงาน
(ให้ดำเนินการตามขั้นตอนการเขียนรายงาน ความยาวไม่ต่ำกว่า 20 หน้า)
ให้นักศึกษาเลือกหัวข้อ ศึกษาค้นคว้าและจัดทำรายงานโดยศึกษาขั้นตอนการดำเนินงาน และนำมาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม
กิจกรรมที่ 26 ให้นักศึกษาเขียนโครงการ เรื่องการพัฒนาทักษะการเขียนของตนเอง ตามหัวข้อที่กำหนดให้
ให้นักศึกษา ศึกษาค้นคว้าวิธีการเขียนโครงการ และเนื้อหา แล้วเขียนโครงการตามที่กำหนด
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......67
กิจกรรมที่ 27 ให้นักศึกษาเขียนผังของคำประพันธ์ต่อไปนี้ พร้อมแสดงสัมผัสให้เห็นชัดเจน ทั้งในส่วนของสัมผัสภายในบทและสัมผัสระหว่างบท
1. โคลงสี่สุภาพ
OOOOO OO (OO)
OOOOO OO
OOOOO OO (OO)
OOOOO OOOO
2. กลอนสุภาพ
O O O O O O O O O O O O O O O O
O O O O O O O O O O O O O O O O
O O O O O O O O O O O O O O O O
O O O O O O O O O O O O O O O O
3. กาพย์ยานี 11
วรรคแรก วรรคหลัง
บาทเอก O O O O O O O O O O O
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11
บาทโท O O O O O O O O O O O
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11
O O O O O O O O O O O
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11
O O O O O O O O O O O
1
2 3 4 5 6 7 8 9 10 11
สัมผัสระหว่างบท ร สด รอง สร สด รองส สัมผัสระหว่างบท ....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......68
4. กาพย์ฉบัง 16
บทที่ 1 O O O O O O O O O O
O O O O O O
บทที่ 2 O O O O O O O O O O (1)
O O O O O O
5. กาพย์สุรางคนางค์ (28)
O O O O
O O O O O O O O
O O O O O O O O
O O O O O O O O
O O O O
O O O O O O O O
O O O O O O O O
O O O O O O O O
(2)
(1) (3) (4) (2)
....คู่มือการเรียนด้วยตนเอง ...รายวิชาภาษาไทย ม.ปลาย......69


เข้าชม : 4809


ทดสอบหมวดหมู่ 5 อันดับล่าสุด

      แหล่งเรียนรู้ กศน.ตำบลคลองหิน 18 / เม.ย. / 2560
      แผนปฏิบัติงาน เดือน ม.ย. 24 / มิ.ย. / 2559
      ใบงาน สุขศึกษา พละศึกษา 24 / มิ.ย. / 2559
      แผน-ผล การปฏิบัติงาน 19 / มี.ค. / 2559
      คู่มือ ใบงาน วิชา ศิลปศึกษา ม.ปลาย 9 / ก.พ. / 2559


 
 

  กศน.ตำบลคลองหิน

ที่อยู่ ม.๑ บ้านศาลาพระม่วง ต.คลองหิน อ.อ่าวลึก จ.กระบี่ ๘๑๑๑๐
E-mail  setehayard@hotmail.com

Powered by MAXSITE 1.10   Modify by   นิกร เกษโกมล   Version 2.05HD  Update by   นายบุญมา มาดี